Asterisk Pstn E1 Pri

Published on July 2016 | Categories: Types, Research, Internet & Technology | Downloads: 57 | Comments: 0 | Views: 1576
of 12
Download PDF   Embed   Report

แนะนำพื้นฐาน การเชื่อมต่อ และวิธีการติดตั้ง E1 บน Asterisk เอกสารภาษาไทยคุณภาพจากเว็บ http://www.voip4share.com

Comments

Content

1

การเชื่อมต่อ Asterisk กับ PSTN แบบ E1 PRI
E1 เป็นช่องทางการติดต่อสื่อสารความเร็วสูงประเภทหนึ่ง เป็นมาตรฐานของทวีปยุโรปและแพร่หลายในประเทศไทย ผู้ให้บริการโทรศัพท์ทุก
ค่ายในประเทศไทยมีการเชื่อมต่อด้วย E1 เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่ต้องการเบอร์โทรศัพท์ที่มีจานวนช่องสัญญาณมากๆ E1
สามารถรับส่งได้ทั้งเสียงและข้อมูลแต่ส่วนใหญ่จะใช้กับเสียง สาย E1 หนึ่งเส้นมีความเร็ว 2.048 Mbps เมื่อใช้กับการรับส่งสัญญาณเสียงพูด
จะถูกแบ่งออกเป็น 32 ไทม์สล๊อต (แต่ส่วนใหญ่จะเรียกไทม์สล๊อตว่า แชนแนล) มีลาดับตั้งแต่ไทม์สล๊อตที่ 0 จนถึง 31 มีความเร็วหรือแบนวิดธ์
ไทมส์ล๊อตละ 64 Kbps แต่ใช้รับส่งสัญญาณเสียงได้จริงๆแค่ 30 ไทม์สล๊อตเท่านั้นนะครับ เพราะมีการกันไทม์สล๊อตไว้เพื่อรับส่ง
สัญญาณคล๊อกและสัญญาณควบคุมด้วย ไม่เช่นนั้นมันก็จะมัว่ หน่ะครับ
ในกรณีของ E1 แบบ ISDN PRI ไทม์สล๊อตหรือแชลแนลที่ใช้รับส่งสัญญาณเสียงพูดมีชื่อเรียกต่างหากว่า B Channel มีจานวน 30 ไทม์สล๊อต
เช่นเดียวกับ E1 ที่รับส่งสัญญาณเสียงทั่วๆไป มีลาดับตั้งแต่ไทม์สล๊อตที่ 1 - 15 และ 17 - 31 ไทม์สล๊อตที่ 0 ใช้ไปเพื่อรับส่งสัญญาณคล๊อก
หรือ Timing และ CRC ให้สองฝั่ง Sync กัน จะได้มีจังหวะการรับและส่งที่สอดคล้องกับ จังหวะเดียวกัน ส่วนไทม์สล๊อตที่ 16 จะใช้เพื่อการทา
การควบคุมหรือ Signaling เช่นการทา Call Setup ตอนเริ่มโทร Call Teardown ตอนวางสาย เป็นต้น ไทม์สล๊อตที่ 16 นี้นะครับซึ่งมีชื่อเรียก
ต่างหากว่า D Channel
การเชื่อมต่อพอร์ต E1 แบบ Physical
เป็นการเชื่อมต่อสายกับชุมสายของ TOT, TT&T, TRUE หรือ PBX โดยทั่วไปทางผู้ให้บริการจะเดินสาย E1 มา 2 เส้น เส้นหนึ่งเป็น Tx
(Transmit) อีกเส้นเป็น Rx (Receive) เวลาเอามาต่อกับพอร์ต E1 ก็ต้องต่อให้ถูกด้วยนะครับ โดยเอา Tx ชนกับ Tx และ Rx ชนกับ Rx ไม่ต้อง
เป็นห่วงว่ามันจะทางานไม่ได้นะครับ เพราะว่าเวลาเราเอา E1 ของชุมสายมาต่อกับ E1 ของการ์ด ฝั่งหนึ่งเป็น Network และอีกฝั่งเป็น CPE
หรือ User ซึ่งฝั่ง Network มันจะส่งออกทางขา Tx และรับเข้าทางขา Rx แต่ฝั่ง User จะรับเข้ามาทาง Tx และจะส่งออกไปทาง Rx มันจะ
ตรงกันข้าม คงไม่งงนะครับ
ส่วนเรื่องของ Clock ก็สาคัญเหมือนกันไม่อย่างนั้นมันจะไม่ Sync กัน ฝั่งหนึ่งต้องจ่าย Clock อีกฝั่งต้องรับ Clock เซ็ตให้จ่ายทั้งคู่ไม่ได้นะ
ครับเพราะมันจะชนกัน กลายเป็นเกิด Clock Slip ใช้งานแล้วมีปัญหาอีก
จากที่ได้กล่าวถึงในตอนต้นว่าผู้ให้บริการจะเดินสายมา 2 เส้นต่อ 1 E1 สายจะเป็นชนิด Coaxial มีอิมพีแดนซ์ 75 โอห์ม (เป็นแบบ
Balanced) พร้อมเข้าหัวแล้วแบบ BNC แต่ E1 บนการ์ดของเรามีขั้วต่อแบบ RJ-48 ซึ่งมีอิมพีแดนซ์ 120 โอห์ม (เป็นแบบ Unalance) ซึ่งไม่
แม๊ตซ์กัน ถ้าเอามาต่อกันโดยไม่มีตัวแปลง มันจะเกิดการสูญเสีย (Loss) ของสัญญาณมาก เราต้องทาให้แม๊ตซ์กันโดยใช้ตัวแปลงอิมพีแดนซ์
ซึ่งเรียกว่า บาลัน (BALUN ย่อมาจาก Balance/Unbalance) แต่เวลาไปซื้อต้องบอกคนขายว่าเอา G.703 BALUN นะครับ เดี๋ยวเขาหยิบ
BALUN ที่ใช้กับงาน Video มาให้ มันใช้ไม่ได้
ขั้วต่อ RJ-48 มันก็เหมือนกับ RJ-45 ที่เราใช้เข้าสาย LAN นั่นแหล่ะครับ แต่ผมคิดว่าเขาเรียกให้มันแตกต่างกันซะมากกว่า แต่ผมก็เห็นฝรั่ง
เรียกบางทีก็ RJ-45 บางทีก็ RJ-48 สรุปคือเรียกอะไรก็ได้ครับ ตามถนัด
BNC ตัวผู้

BNC ตัวเมีย
บทความโดย “คุณหนุ่ย” แห่งเว็บ voip4share.com

2

ตัวแปลง I-Connector เผื่อต้องใช้ถ้าหัว BNC ที่จะนามาต่อกันเป็นตัวผู้ทั้ง 2 ด้าน

G.703 Balun มีด้าน BNC เป็นตัวเมีย

G.703 Balun มีด้าน BNC เป็นตัวผู้

ตามปกติผู้ให้บริการจะเดินสาย BNC เป็นตัวผู้ทั้ง 2 เส้น เราก็ซื้อ G.703 Balun ที่ด้าน BNC เป็นตัวเมีย (Female) มันก็จะเข้ากันได้พอดีครับ
สายต่อจากเข้าพอร์ต E1 บนการ์ด
จะเห็นว่าด้าน 120 โอห์มของ BALUN เป็น RJ-48 ตัวเมีย เราก็ทาสาย LAN มา 1 เส้น เข้าสายแบบขา 1 ไป 1, 2 ไป 2,...,8 ไป 8 ตรงๆเลย ใน
จานวน 8 เส้นนี้ใช้งานแค่ 4 เส้นนะครับ คือขา 1 (RX Ring), 2 (RX Tip), 4 (TX Ring) และ 8 (TX Tip)
ฮาร์ดแวร์การ์ด E1
ปัจจุบันนี้มีผู้ผลิตมากมายที่ผลิตการ์ด E1 ออกมาใช้กับ Asterisk เช่น Digium, ATCOM, Sangoma, OpenVox, Rhino เป็นต้น การ์ดเหล่านี้
จะมีบัสอยู่ 2 แบบคือ PCI (แบ่งออกเป็น PCI 5 โวลต์ และ PCI 3.3 โวลต์) และ PCI Express เวลาเลือกซื้อก็ต้องดูด้วยนะครับว่าเครื่องที่ลง
Asterisk มันรองรับบัสแบบไหน เดี๋ยวซื้อมาผิดประเภท
การ์ด E1 ที่มีขายในขณะนี้มีอยู่ด้วยกัน 2 ประเภท คือการ์ดที่ไม่มีโมดูลกาจัดเสียงสะท้อน (Echo Canceller) และการ์ดที่มีโมดูลกาจัดเสียง
บทความโดย “คุณหนุ่ย” แห่งเว็บ voip4share.com

3

สะท้อน ซึ่งถ้าเกิดเสียงสะท้อนเราจะได้ยินเสียงของเราสะท้อนกลับมา สร้างความน่าราคาญพอสมควร แต่ก็ไม่ใช่ว่าเสียงสะท้อนมันจะเกิดขึ้น
ทุกครั้ง อาจจะไม่เกิดขึ้นเลยก็ได้นะครับ ราคาการ์ดประเภทหลังนี้จะแพงกว่า แต่ถ้าราคาการ์ดทั้งสองแบบแตกต่างกันมากและมีงบไม่พอ ก็
ไม่ต้องง้อการ์ดประเภทที่สองก็ได้ครับ ใช้ Echo Canceller ที่เป็นซอฟท์แวร์ก็ได้ เช่น OSLEC หรือที่มีมาพร้อมกับ DAHDI ก็ได้ เช่น MG2,
SEC, SEC2 เป็นต้น
ตัวอย่างการ์ด E1 แบบ 2 พอร์ต และ 4 พอร์ต

ตัวอย่างการ์ด E1 จากผู้ผลิต
Digium
รายชื่อการ์ด Digital T1/E1/J1 Digium เรียก Port ว่า Span การ์ดเหล่านี้ใช้เชือ่ มต่อได้ทั้งแบบ E1, T1 และ J1 ครับ
• TE410P - Quad Span T1/E1/J1 Card, PCI 3.3v Bus
• TE412P - Quad Span T1/E1/J1 Card with Echo Canceller, PCI 3.3v Bus
• TE405P - Quad Span T1/E1/J1 Card, PCI 5v Bus
• TE407P - Quad Span T1/E1/J1 Card with Echo Canceller, PCI 5v Bus
• TE420 - Quad Span T1/E1/J1 Card, PCI Express Bus
• TE420B - Quad Span T1/E1/J1 Card with Echo Canceller, PCI Express Bus
• TE210P - Dual span T1/E1/J1 Card, 3.3v PCI
• TE212P - Dual span T1/E1/J1 Card with Echo Canceller, 3.3v PCI
• TE205P - Dual Span T1/E1/J1 Card, PCI 5v Bus
• TE207P - Dual Span T1/E1/J1 Card with Echo Canceller, PCI 5v Bus
บทความโดย “คุณหนุ่ย” แห่งเว็บ voip4share.com

4

• TE220 - Dual Span T1/E1/J1 Card, PCI Express Bus
• TE220B - Dual Span T1/E1/J1 Card with Echo Canceller, PCI Express Bus
• TE121P - Single Span T1/E1/J1 Card, PCI Express Bus
• TE121B - Single Span T1/E1/J1 Card with Echo Canceller, PCI Express Bus
• TE122P - Single Span T1/E1/J1 Card, PCI 3.3v or 5.5v Bus
• TE122B - Single Span T1/E1/J1 Card with Echo Canceller, PCI 3.3v or 5.5v Bus
OpenVox
มีการ์ดให้เลือกแบบ 1, 2 และ 4 พอร์ต มี Hardware Echo Cencaller และไม่มี บัสอินเตอร์เฟสแบบ PCI และ PCI Express
• DE115E, DE115P, D110E, D110P, D115E, D115P, DE210E, D210E, DE210P, D210P, DE410E, D410E, DE410P, D410P
Sangoma
• A101 (1-Port), A102 (2-Port), A104 (4-Port), A108 (8-Port)
Rhino
• R1T1, R1T1-e, R2T1, R2T1-e, R4T1, R4T1-e
Atcom
• AX1E, AX4E
ติดตั้งการ์ด E1 ในเครื่อง
วิธีการก็เหมือนกับติดตั้งการ์ดอื่นโดยทั่วๆไปครับ ใส่เข้าไปใน Slot ที่ยังว่างอยู่ ขันน๊อตให้แน่น แล้วปิดฝาเคส
การติดตั้ง Driver ของการ์ด E1
1. ติดตั้ง libpri
เป็นไดร์เวอร์ของการ์ด E1/T1/J1 การ์ด E1 จากผู้ผลิตส่วนใหญ่สามารถใช้ไดร์เวอร์ตัวนี้ได้ ยกเว้นของยี่ห้อ Sangoma อาจจต้องใช้ไดร์เวอร์
ของ Sangoma เอง ซึ่งเรียกว่า Wanpipe for Asterisk
2. ติดตั้ง Zaptel หรือ DAHDI
เลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง แนะนาว่า Asterisk 1.4 ลงมาให้ติดตั้ง Zaptel ส่วน Asterisk 1.6 ขึ้นไปให้ติดตั้ง DAHDI และนี่เป็นวิธีการติดตั้ง
DAHDI ร่วมกับ OSLEC - Line Echo Canceller
3. ติดตั้ง Asterisk
วิธีการติดตั้ง Asterisk 1.6.2.0
บทความโดย “คุณหนุ่ย” แห่งเว็บ voip4share.com

5

4. หาค่า Span Numbers
Span Number ก็คือหมายเลขพอร์ตของ E1 ซึ่งเวลาเราจะใช้งานพอร์ตเราต้องระบุค่า Span นี้ด้วยเพราะจะได้รู้ว่าจะใช้งานพอร์ตไหน ค่านี้
จะไม่เป็นปัญหาสาหรับเราเลยถ้าในเครื่องมีการ์ด E1 การ์ดเดียว (ไม่มีการ์ด E1 หรือการ์ด Analog อื่นอีก) และมี E1 แค่พอร์ตเดียว ค่าๆนี้คน
ทีก่ าหนดจะไม่ใช่ Asterisk นะครับ แต่จะเป็นที่ซอฟแวร์หรือเฟิร์มแวร์ของการ์ดเองที่จะตั้งค่า Span Number ถ้ามีการ์ดเดียวแต่มีหลายพอร์ต
ลาดับของ Span Number จะเรียงตามลาดับพอร์ต แล้วก็มีค่าต่อๆกันไป เช่น มีการ์ด E1 อยู่ 4 พอร์ต มีหมายเลขพอร์ตเป็น 1-4 และทั้งเครือ่ ง
ก็ติดตั้งการ์ดเดียว ก็จะได้ว่า Span Number 1-4
ตามปกติบนการ์ดจะมีสวิตซ์หรือจั๊มเปอร์ให้เราตั้งค่า Span Number ซึ่งถ้าติดตั้งการ์ดมากกว่า 1 การ์ดบนเครื่องเดียวกัน อย่าให้ค่า Span
Number ซ้ากันนะครับ
คาสั่ง dahdi_genconf มันจะดีเท็ค Span Number ของการ์ดและพอร์ตที่มันพบ แล้วนามาไรท์ลงไปในไฟล์ /etc/dahdi/system.conf
5. หาค่าพารามิเตอร์เหล่านี้
ต้องคุยกับทางฝั่งชุมสายหรือตู้สาขา
- เป็น E1 แบบไหน R2, PRI หรือว่า Q.Sig
- ใช้ Line Encoding แบบไหน HDB3 หรือ AMI โดยมากจะเป็นแบบ HDB3
- ใช้ Framing แบบไหน no-CRC4 หรือว่า CRC4
- เซ็ต Clocking ยังไง ใครเป็นคนจ่าย (Clock Source Internal) ใครเป็นคนรับ (Clock Source Line) ชุมสายจะเป็นคนจ่าย Clock มาให้
- Line Build Out หรือค่าชดเชยความสูญเสียในสายที่ต่อระหว่างพอร์ต E1 และชุมสาย ค่านี้ใส่เป็น 0 ก็ได้ครับ เพราะถามเจ้าหน้าที่ชุมสาย
เขาอาจจะไม่รู้
- เป็น PRI Network หรือ PRI User ถ้าต่อกับชุมสาย ฝั่งเราจะเป็น User และชุมสายจะเป็น Network แต่ถ้าต่อกับตู้ PBX เราจะเป็น Network
ส่วน PBX จะเป็น User ครับ
- Switch Type เป็นแบบไหน เป็น Net5 หรือไม่ บ้านเราเป็น PRI มาตรฐาน Net5 ครับ
สมมติว่าจะเชื่อมต่อแบบ PRI, Line Code = HDB3, Framing = CRC4, CCS, Switch Type = Net5 (Asterisk เรียกชื่อ euroisdn แทน
Net5) ให้การ์ด E1 รับ Clock จากชุมสาย เชื่อมต่อแค่ 1 E1 ดังนั้น B channel คือแชนแนลที่ 16 และ D Channel คือแชนแนลที่ 1-15 และ
17-31 และใช้
6. เช็คว่าเครื่องมองเห็นการ์ด E1 หรือไม่
ใช้คาสั่ง
lspci -v
ต้องเห็นประมาณนี้ครับ
02:03:0 Communication controller: Digium, Inc. Wildcard TE410P Quad-Span togglable E1/T1/J1 card 3.3v (rev 02)
7. คอนฟิก /etc/dahdi/system.conf
ไฟล์ system.conf นี้จะมีข้อมูลที่ Linux สามารถเข้ามาตรวจสอบฮาร์ดแวร์ได้ เป็น text file ที่อยู่ในไดเร็คตอรี่ /etc/dahdi ไฟล์นี้สร้างไฟล์นี้
ขึ้นมาโดยใช้ทูลที่มีชื่อว่า "dahdi_genconf" ครับ ได้จากตอนที่เราติดตั้ง "dahdi-tools"
เช็คก่อนนะครับว่าใน /etc/dahdi มีไฟล์ชื่อ genconf_parameters อยู่หรือเปล่า (ปกติจะมี ถ้าไม่มีก็ให้ก๊อปมาจากซอร์สโค๊ดของ dahdi-tools
บทความโดย “คุณหนุ่ย” แห่งเว็บ voip4share.com

6

เอามาใส่) ถ้าไม่มีก็ให้สร้างไฟล์เปล่าๆขึ้นมา touch /etc/dahdi/genconf_parameters เพราะคาสั่ง dahdi_genconf มันจะไปอ่านคอนฟิก
เริ่มต้น จากไฟล์นี้ แล้วมันจะไรท์ข้อมูลลงไฟล์ /etc/dahdi/system.conf
สร้างไฟล์ system.conf ด้วยคาสั่งนี้
dahdi_genconf
ถ้าเป็นการ์ดแบบ FXS/FXO ก็ไม่ต้องไปแก้ไขอะไรในไฟล์นี้เลยครับ แต่ถ้าเป็น E1 ต้องเข้าไปแก้ไขอีกครับ เพราะว่าคาสั่ง dahdi_genconf นี้
มันไม่รู้ว่าเราจะใช้ E1 แบบไหน ใช้ Signaling เป็นอะไร
มาดูรายละเอียดในไฟล์นี้กันครับ บางอย่างทูลนี้จะทาให้ บางอย่างเราต้องทาเอง
span=<span num>,<timing source>,<line build out (lbo)>,<framing>,<coding>[,yellow alarm]
#span num เป็นหมายเลขของ Span การ์ดหนึ่งจะมีหมายเลข Span แค่เลขเดียว เริ่มต้นที่ 1 และเพิ่มค่าขึ้นทีละ 1 สาหรับการ์ดต่อไป (ถ้ามี)
ค่านี้ระบบจะกาหนดค่าให้
#ตอนที่ใช้ทูล dahdi_genconf
#timing source = 0 (จ่าย clock) | 1 (รับ clock) | 2,3,4... (รับ clock และใช้เป็น secondary clock source) ถ้าการ์ดแรกเสียก็จะใช้ clock
source จากการ์ดที่ 2 แทน
#line build out (LBO) เป็นเลขจานวนเต็ม เป็นค่าชดเชย Loss ที่เกิดจากขนาดของสายและระยะทางจากชุมสาย มีค่าตามตารางต่อไปนี้
# 0: 0 dB (CSU)/0-133 feet (DSX-1), 1: 133-266 feet (DSX-1), 2: 266-399 feet (DSX-1), 3: 399-533 feet (DSX-1), 4: 533-655 feet
(DSX-1), 5: -7.5 dB (CSU)
# 6: -15 dB (CSU), 7: -22.5 dB (CSU) ปกติค่านี้ใส่เป็น 0 ครับ
#framing สาหรับ E1 ได้แก่ cas หรือ ccs
#coding สาหรับ E1 ได้แก่ hdb3 หรือ ami และอาจจะมีคีย์เวอร์ดใส่เพิ่มเติมด้วย เช่น crc4 เพื่อใช้งานแบบเช็ค crc4
#yellow alarm ถ้าไม่มี Channel เปิดใช้งาน การ์ดจะส่ง Yello Alarm ไปยังชุมสาย
และนี่คือไฟล์ /etc/dahdi/system.conf ครับ ซึ่งใช้ Echo Canceller แบบ OSLEC ด้วย
# Autogenerated by /usr/sbin/dahdi_genconf on Thu Jan 14 00:54:52 2010
# If you edit this file and execute /usr/sbin/dahdi_genconf again,
# your manual changes will be LOST.
# Dahdi Configuration File
#
# This file is parsed by the Dahdi Configurator, dahdi_cfg
# This file is parsed by the Dahdi Configurator, dahdi_cfg
#
# Span 1: D115P/D115E/0/1 "D115P/D115E (PCI/PCI-E) Card 0 Span 1" (MASTER)
span=1,1,0,ccs,hdb3,crc4
# termtype: te
bchan=1-15,17-31
บทความโดย “คุณหนุ่ย” แห่งเว็บ voip4share.com

7

dchan=16
echocanceller=oslec,1-15,17-31
# Global data
loadzone = us
defaultzone = us
เซฟไฟล์แล้วรีโหลด dahdi ใหม่
service dahdi restart
8.ทดสอบ
ใช้ทูล dahdi_cfg และ dahdi_tool
dahdi_cfg -vvvvv
DAHDI Tools Version - 2.2.1-rc2
DAHDI Version: 2.2.1
Echo Canceller(s): OSLEC
Configuration
======================
SPAN 1: CCS/HDB3 Build-out: 0 db (CSU)/0-133 feet (DSX-1)
Channel map:
Channel 01: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 01)
Channel 02: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 02)
Channel 03: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 03)
Channel 04: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 04)
Channel 05: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 05)
Channel 06: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 06)
Channel 07: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 07)
Channel 08: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 08)
Channel 09: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 09)
Channel 10: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 10)
Channel 11: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 11)
Channel 12: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 12)
Channel 13: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 13)
Channel 14: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 14)
Channel 15: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 15)
บทความโดย “คุณหนุ่ย” แห่งเว็บ voip4share.com

8

Channel 16: D-channel (Default) (Echo Canceler: none) (Slaves: 16)
Channel 17: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 17)
Channel 18: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 18)
Channel 19: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 19)
Channel 20: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 20)
Channel 21: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 21)
Channel 22: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 22)
Channel 23: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 23)
Channel 24: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 24)
Channel 25: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 25)
Channel 26: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 26)
Channel 27: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 27)
Channel 28: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 28)
Channel 29: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 29)
Channel 30: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 30)
Channel 31: Clear channel (Default) (Echo Canceler: oslec) (Slaves: 31)
9. ไฟล์ /etc/dahdi/modules
ไฟล์นี้จะมีรายชื่อโมดูล (หรือจะเรียกว่าไดร์เวอร์ก็ได้ครับ) ที่ DAHDI จะโหลดขึ้นมาใช้งาน ให้แน่ใจว่าโมดูลการ์ด E1 จะถูกโหลดขึ้นมาชัวร์
#Digium TE110P: PCI single-port T1/E1/J1
wcte11xp
อาจต้องรีสตาร์ท DAHDI ใหม่อีกรอบ
10. คอนฟิก Asterisk ให้ใช้ DAHDI Channel
ไฟล์ /etc/asterisk/chan_dahdi.conf
ไฟล์นี้เอาไว้คอนฟิกออปชั่นของการ์ด E1 เพิ่มเติมจากในไฟล์ /etc/dahdi/system.conf
[channels]
language=en
context=from-pstn
switchtype=euroisdn
signaling=pri_cpe
group=0
usecallerid=yes
hidecallerid=no
callwaiting=yes
usecallingpres=yes
บทความโดย “คุณหนุ่ย” แห่งเว็บ voip4share.com

9

callwaitingcallerid=yes
threewaycalling=yes
transfer=yes
canpark=yes
cancallforward=yes
callreturn=yes
echocancel=yes
echocancelwhenbridged=yes
relaxdtmf=yes
rxgain=0.0
txgain=0.0
group=1
callgroup=1
pickupgroup=1
immediate=no
cidsignalling=dtmf
cidstart=ring
pridialplan=international
prilocaldialplan=national
;Sangoma A102 port 1 [slot:1 bus:4 span: 1]
switchtype=euroisdn
context=from-internal
group=1
signalling=pri_cpe
channel => 1-15,17-31
เข้า Asterisk Console
dahdi restart
reload chan_dahdi.so
module reload chan_dahdi.so

10. ตรวจสอบว่าคอนฟิก E1 ถูกต้องหรือไม่ คุยกับชุมสายได้หรือไม่
dahdi_tool
บทความโดย “คุณหนุ่ย” แห่งเว็บ voip4share.com

10

dahdi_cfg -vvvvv
11. เขียน Dialplan
[from-internal]
exten => _02X.,1,Dial(DAHDI/g1,${EXTEN})
exten => _02X.,Hangup()
exten => _08X.,1,Dial(DAHDI/g1,${EXTEN})
exten => _08X.,Hangup()
เป็นตัวอย่างการโทรออกเบอร์ 02 และ 08 ครับ
12. ทดสอบโทรออก
โทรจากเบอร์ Extension ที่อยู่ใน Context [from-internal] โดยกด 02 หรือ 08 ตรงๆ
แถมกรณีมี E1 มากกว่า 1 พอร์ต
ยกตัวอย่างเช่นติดตั้งการ์ด E1 แบบ 4 พอร์ต ต้องระบุด้วยครับเรื่องของ Clocking ว่าจะให้พอร์ต E1 ไหนเป็น Primary Clock Source พอร์ต
ไหนเป็น Secondary Clock Source
ไฟล์ /etc/dahdi/system.conf
# Span 1: TE4/0/1 "T4XXP (PCI) Card 0 Span 1"
span=1,1,1,ccs,hdb3,crc4
# termtype: te
bchan=1-15,17-31
dchan=16
# Span 2: TE4/0/2 "T4XXP (PCI) Card 0 Span 2"
span=2,2,1,ccs,hdb3,crc4
# termtype: te
bchan=32-46,48-62
dchan=47
# Span 3: TE4/0/3 "T4XXP (PCI) Card 0 Span 3"
span=3,3,1,ccs,hdb3,crc4
# termtype: te
bchan=63-77,79-93
บทความโดย “คุณหนุ่ย” แห่งเว็บ voip4share.com

11

dchan=78
# Span 4: TE4/0/4 "T4XXP (PCI) Card 0 Span 4"
span=4,4,1,ccs,hdb3,crc4
# termtype: te
bchan=94-108,110-124
dchan=109
loadzone = us
defaultzone = us
echocanceller=oslec,1-15,17-31,32,46,48-62,63-77,79-93,94-108,110-124
ไฟล์ /etc/asterisk/chan_dahdi.conf
[channels]
language=en
context=from-pstn
switchtype=euroisdn
pridialplan=unknow
signalling=pri_cpe
usecallerid=yes
hidecallerid=no
callwaiting=yes
callwaitingcallerid=yes
threewaycalling=yes
transfer=yes
cancallforward=yes
echocanceller=yes
rxgain=0.0
txgain=0.0
group=1
callgroup=1
immediate=no
callprogress=no
callerid=asreceived
cidsignalling=dtmf
cidstart=ring
บทความโดย “คุณหนุ่ย” แห่งเว็บ voip4share.com

12

pridialplan=international
prilocaldialplan=national
#
group=1
signalling=pri_cpe
channel => 1-15,17-31
group=1
signaling=pri_cpe
channel => 32-46,48-62
group=1
signaling=pri_cpe
channel => 63-77,79-93
group=1
signaling=pri_cpe
channal => 94-108,110-124
#include dahdi-channels.conf
ไฟล์ /etc/asterisk/dahdi-channels.conf
signalling=pri_cpe
callerid=asreceived
group=0
context=from-pstn
channel => 1-15,17-31,63-77,79-93,94-108,110-124
callerid=
group=1
context=default
เข้า Asterisk Console
dahdi restart
reload chan_dahdi.so
module reload chan_dahdi.so

ยังมีบทความอีกเยอะแยะครับทีเ่ ว็บ www.voip4share.com
บทความโดย “คุณหนุ่ย” แห่งเว็บ voip4share.com

Sponsor Documents

Or use your account on DocShare.tips

Hide

Forgot your password?

Or register your new account on DocShare.tips

Hide

Lost your password? Please enter your email address. You will receive a link to create a new password.

Back to log-in

Close