Metallurgy
Comments
Content
โลหะวิทยาเบื้องตน
โดย
อมรศักดิ์ เรงสมบูรณ
กลุม เทคโนโลยีการผลิตและออกแบบ
ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ
สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ
หัวขอบรรยาย
• ภาพรวมของโลหะ
• ความสัมพันธของโครงสราง สมบัติ และการผลิต
- โครงสราง
- สมบัติทางกล
- กระบวนการผลิต
• โลหะกลุมเหล็ก
• โลหะนอกกลุมเหล็ก
โครงสราง
สมบัติ
กระบวนการผลิต
ตารางธาตุ (periodic table)
โครงสรางของโลหะ
• ระดับอะตอม
- พันธะอะตอม
- โครงสรางผลึก
• โครงสรางจุลภาค (กําลังขยายสูง 25 เทาขึ้นไป)
• โครงสรางมหภาค (กําลังขยายต่ํากวา 25 เทา)
โลหะและโลหะผสม ประกอบดวยธาตุโลหะที่มอี ิเล็กตรอนอิสระ
นําไฟฟาและความรอนไดดี เหนียว
ระบบผลึก (crystalline)
โครงสรางจุลภาค
เครื่องมือศึกษาโครงสรางจุลภาค
SEM (Scanning Electron Microscope)
OM (Optical Microscope)
เกรน (grain) และขอบเกรน (grain boundary)
โครงสรางจุลภาคของเหล็กกลาไรสนิม
ภาพถายระดับจุลภาค (micrograph)
ภาพเดนไดรตจาก SEM
ภาพเดนไดรตจาก OM
หมายเหตุ เดนไดรต (dendrite) คือโครงสรางที่เกิดจากการโตของของแข็งที่ตกผลึกใน
ระบบโลหะผสม และมีกลไกการโตแบบมีทิศทางคลายกิง่ กานของตนไม
โครงสรางจุลภาคนีม้ ีความสําคัญมากสําหรับการศึกษาวัสดุดวย
เหตุผล 2 ประการ
ประการแรก โครงสรางจุลภาคมีผลกระทบตอสมบัติของวัสดุอยาง
กวางขวางโดยเฉพาะอยางยิ่ง สมบัติทางกล
ประการที่สอง เราสามารถดัดแปลงปรับปรุงและควบคุมโครงสราง
จุลภาคไดมากพอสมควร
ดังนั้นงานหลักทีส่ ําคัญของวิศวกรวัสดุคือ พยายามศึกษาเพื่อปรับปรุงและ
ควบคุมโครงสรางจุลภาคเพื่อใหไดสมบัติตามที่ตองการ
ขอมูลสําคัญจากโครงสรางจุลภาค
ชนิดของเฟส
ปริมาณ
รูปราง
การกระจายตัว
เฟสคืออะไร?
เฟส (Phase) หมายถึงสวนของวัสดุที่เปนเนื้อเดียวกัน มีโครงสราง(ผลึก)
เหมือนกัน และมีขอบเขตชัดเจน
โครงสรางมหภาคของงานหลอ
โครงสรางมหภาค
สมบัติของโลหะ
สมบัติทางกล (Mechanical Properties)
สมบัติทางเคมี (Chemical Properties)
สมบัติทางกายภาพ (Physical Properties)
สมบัติการแปรรูป/ขึ้นรูป (Deformation Properties)
สมบัติสวนใหญขึ้นอยูกับโครงสราง ชนิด รูปราง ปริมาณ และการกระจาย
ของเฟสตางๆ
สมบัติทางกล (Mechanical properties)
สมบัติทางกลหมายถึงความสามารถในการรับแรงหรือภาระ (Load) ลักษณะ
ตางๆ สมบัติทางกลที่สําคัญไดแก
ความแข็งแรง (Strength)
ความแข็ง (Hardness)
ความเหนียว (Toughness)
ทนตอความลา (Fatigue)
ความทนตอการคืบ (Creep)
ความทนตอการสึกกรอน (Wear)
การทดสอบโดยใชแรงดึง
เปนการทดสอบมาตรฐานในการหาความแข็งแรงของโลหะ
(และวัสดุอื่น)
ผลทดสอบจะเปนกราฟระหวางความเคนและความเครียด
สมบัติที่ไดมีดังนี้
- ความแข็งแรงยีลด หรือจุดคราก
- ความแข็งแรงสูงสุด
- เปอรเซนตการยื
การยืดตัว(% EL)
- เปอรเซ็นตการคอดกิ่ว (% RA)
- โมดูลัสการยืดหยุน
The Stress - Strain curve :
s
Onset of
necking
E
σUTS
Measure:
Failure
Strain
hardening
σy =σ0.2
F
σproof
% elongation
u
0.2%
e
การทดสอบความแข็ง
ความแข็งหมายถึงความตานทานตอการเกิดรอยขีดหรือรอยกด
ทดสอบโดยใชเครื่องทดสอบความแข็ง
- แบบบริเนลล (Brinell)
- แบบวิกเกอร (Vickers)
- แบบรอกเวลล (Rockwell)
- แบบอื่นๆ
การทดสอบความเหนียว
ความเหนียวมีความหมาย 2 ประการ
- ความสามารถในการยืดตัว (Ductility)
- ความตานทานการเกิดรอยราว (Toughness)
ความเหนียวจะขึ้นกับอุณหภูมิอยางมาก
- ที่อุณหภูมิต่ํา โลหะบางชนิดจะเปราะมาก
Ductility ทดสอบโดยใชแรงดึง
Toughness ทดสอบโดยใชแรงกระแทก
Liberty Ships in WW II
การลาของโลหะ
การลา (Fatigue) หมายถึงการแตกราวของวัสดุเมื่อรับแรงซ้ําไปซ้ํามา
มีความสําคัญในทางปฏิบัติเพราะ
เกิดขึ้นภายใน มองไมเห็น
เกิดที่ความเคนต่ํา
กวา 90% ของการแตกหักของชิ้นสวนเกิดจากการลา
ปจจัยที่สงผลตอการลา
ตองมีการรับแรงซ้ําไปซ้ํามา
ตองมีความเคนสูงถึงคาคาหนึ่ง
ตองมีจํานวนรอบมากพอ
การแตกหักเนื่องจากการลา
การคืบ
การคืบ (Creep) หมายถึงการที่โลหะยืดตัวชาๆ อยางตอเนื่องใน
ขณะที่รับแรงคงที่
การคืบเกิดขึ้นที่อุณหภูมิสูง (เทียบกับจุดหลอมเหลว) จึงมีความสําคัญ
ในงานอุณหภูมิสูง
The Boeing 777
เครื่องยนต GE 90’s
GE 90’s
Turbine Blade
∆ TBC
การขึ้นรูปโลหะ
การหลอขึ้นรูป (Casting)
การขึ้นรูปโดยไมเสียเนื้อโลหะ(Deformation Processing)
การกัดกลึงขึ้นรูป (Machining)
การขึ้นรูปจากผงโลหะ(Powdermet)
กระบวนการที่เกี่ยวของ
การอบชุบ (Heat Treatment)
การชุบเคลือบผิว (Surface Treatment)
การเชื่อม (Welding & Joining)
การหลอโลหะ
การหลอโลหะ (Casting) หมายถึงการขึ้นรูปโลหะโดยนําโลหะมา
หลอมเหลวแลวเทหรือฉีดเขาสูแบบหลอ (Mold) หรือแมพิมพ (Die) เมื่อ
โลหะแข็งตัวก็จะไดชิ้นงานที่มีรูปรางตามตองการ
การหลอโลหะทําไดหลายวิธี เชน
หลอในแบบหลอทราย
หลอในแบบหลอเซรามิกส
หลอแบบฉีดหรือไดคาสท
หลอเหวี่ยง
หลอตอเนื่อง
การหลอโลหะ
การหลอในแบบหลอเซรามิกส
Pressure molding
การหลอแบบฉีดหรือไดคาสท
ชิ้นงานหลอไดคาสท
การรีด
การรีด (Rolling) หมายถึงการขึ้นรูปชิ้นงานที่มีความยาว เชน โลหะแผน
เหล็กเสน I-Beam
การรีดรอน (Hot Rolling) เปนการรีดที่อุณหภูมิสูงสําหรับชิ้นงานขนาด
ใหญหรือรีดยาก ผิวชิ้นงานจะหยาบ
การรีดเย็น (Cold Rolling) เปนการรีดที่อุณหภูมิไมสูงมากนัก สําหรับ
งานขนาดเล็ก บาง ผิวชิ้นงานจะเรียบสวย มีความเที่ยงตรงสูง
การควบคุมอุณหภูมิระหวางการรีด โดยเฉพาะในขั้นสุดทายมี
ความสําคัญเพราะจะมีอิทธิพลตอโครงสรางโลหะ
การรีด
การอัดขึ้นรูป
การอัดขึ้นรูป (Extrusion) หมายถึงการอัดโลหะแข็งผานแมพิมพ (Die)
ทําใหไดชิ้นงานที่มีความยาวและมีลักษณะพื้นที่หนาตัดตามตองการ
การอัดขึ้นรูป
การทุบขึ้นรูป
การทุบขึ้นรูป (Forging) หมายถึงการผลิตชิ้นงานหรือชิ้นสวนจากโลหะ
กอนโดยการทุบหรืออัดดวยความเร็วสูง
ปกติการทุบขึ้นรูปจะทําเปนขั้นตอน คอยๆทุบจนไดรูปรางตามตองการ
ชิ้นงานที่ผลิตโดยการทุบจะมีเนื้อแนนและละเอียด มีสมบัติทางกล เชน
ความแข็งแรงและความเหนียวดี
การทุบขึ้นรูป
การทุบขึ้นรูป
สรุป
วิศวกรตองสามารถเชื่อมโยงความสัมพันธของ โครงสราง สมบัติ และ
กระบวนการผลิตใหไดดวยความเขาใจ
พื้นฐานการเกิดโลหะผสม (alloys)
การจําแนกชนิดของโลหะ
โลหะกลุมเหล็ก(Ferrous)
-เหล็กกลา
-เหล็กหลอ
โลหะนอกกลุมเหล็ก(Nonferrous)
-ทองแดง
-อลูมิเนียม
ชนิดของเหล็ก
เหล็กแบงไดเปน 2 กลุมใหญ คือ
- เหล็กกลา (%C นอยกวา 2 )
- เหล็กหลอ(%C มากกวา 2 )
เหล็กกลาคารบอน
มีคารบอนเปนสวนผสมสําคัญ และมีธาตุอื่นปนบางเล็กนอย
แบงเปน 3 กลุมยอย คือ
- เหล็กกลาคารบอนต่ํา (%C นอยกวา0.25 )
- เหล็กกลาคารบอนปานกลาง
- เหล็กกลาคารบอนสูง (%C มากกวา 0.6 )
เฟสไดอะแกรมของเหล็ก
โครงสรางของเหล็กกลา
เหล็กกลาไรสนิม(Stainless steel)
เหล็กกลาสเตนเลสเปนกลุม เหล็กที่มีโครเมียมผสมอยูปริมาณมาก
(มากกวา 10%) อาจมีธาตุอื่นผสมอยูดวย เชน นิกเกิล แมงกานีส
คารบอน โมลิบดินัม
- โครเมียม ทําใหเกิดฟลมออกไซดเคลือบที่ผิวเหล็ก ทําใหเหล็กทนตอการ
เปนสนิมในบรรยากาศธรรมดา
- สเตนเลสทุกกลุ
กกลุมจะเปนสนิม หากฟลมออกไซดถูกทําลาย
เหล็กกลา
เหล็กหลอ
เหล็กหลอ (cast iron)
เนื่องจากเปนเหล็กที่มีปริมาณคารบอนสูงเกิน
2% จัดอยูในชวงที่คารบอนสามารถรวมตัวแบบ
อิสระได เกิดเปนเฟสคารบอน 100% เรียกวา
แกรไฟต (graphite) ซึ่งแข็งเปราะ แทรกอยูใน
เนื้อเหล็ก ทําใหสมบัติของเหล็กโดยรวมแข็ง
และเปราะ แตประโยชนของเหล็กหลอแทจริง
คือ เหล็กมีจุดหลอมต่ํา (ที่คารบอนประมาณ
4.3%)และชวงการเย็นตัวกวาง สามารถหลอได
งาย
เหล็กหลอ (cast iron)
ชนิดของเหล็กหลอ
เหล็กหลอเทา (gray cast iron) กราไฟตชนิดเกล็ด (flake) แข็ง เปราะ ตนทุนต่ํา ผลิตงาย สมบัติ
ทางกลไมสูง เชน FC25 FC30 เปนตน
เหล็กหลอเหนียว (ductile cast iron หรือ spheroidal graphite cast iron) ปรับปรุงรูปรางกรา
ไฟตใหเปนเม็ดกลม (nodule) ดวยการเติมแมกนีเซียม ชวยเพิ่มความแข็งแรง (tensile strength)
และการยืดตัว (ductility) ราคาสูงขึ้น เชน FCD40 FCD50 เปนตน
เหล็กหลอกราไฟตรูปตัวหนอน (wormicular graphite cast iron หรือ compacted graphite cast
iron) เปนผลงานวิจยั ที่ตองการผสมสมบัติความแข็งแรงของเหล็กหลอเหนียว เขากับการถายเท
ความรอนไดดีของเหล็กหลอเทา ยังจํากัดการใชงานอยู เนื่องเทคนิคการผลิตยังไมแพรหลาย
เหล็กหลอ (cast iron)
ชนิดของเหล็กหลอ (ตอ)
เหล็กหลอขาว (white cast iron) ในปจจุบนั ไมมีการใชงานเหล็กหลอชนิดนี้ผลิตเปนชิ้นสวน
ใชเพียงการหลอในหีบแบบเย็นเร็ว (chilled block) เพื่อการทําชิ้นงานสําหรับการวิเคราะห
สวนผสมทางเคมี เปนหลัก
เหล็กหลออบเหนียว (malleable cast iron) เปนการนําเหล็กหลอขาวมาอบเพิ่มความเหนียวและ
สมบัติทางกลอื่นใหสูงขึน้ ใกลเคียงเหล็กหลอเหนียว แตไมเปนที่นิยมในปจจุบนั เชนกัน เนือ่ งจาก
เหล็กหลอเหนียวมีการพัฒนาไปมาก และสามารถผลิตไดงาย
เหล็กหลอผสม (alloy cast iron) เชนเดียวกับเหล็กกลาผสม (alloy steel) หรือเหล็กกลาหลอ
ผสม (alloy cast steel) ที่สามารถกําหนดธาตุผสมเพื่อความหลากหลายของสมบัติเพื่อการใชงาน
ได
\ โลหะนอกกลุมเหล็ก (Non-Ferrous Metals)
อะลูมิเนียมและอะลูมิเนียมผสม
ทองแดงและทองแดงผสม (ทองเหลือง และทองบรอนซ)
สังกะสีและสังกะสีผสม
ซูเปอรอัลลอย (นิกเกิลผสม และโคบอลทผสม เปนหลัก)
โลหะผสมชนิดอื่น ๆ
โลหะนอกกลุมเหล็ก
อะลูมิเนียม
แมกนีเซียม
ไททาเนียม
ทองแดง
นิกเกิล
สังกะสี
ดีบุก
โลหะซินเตอร
โลหะจํารูป
อะลูมิเนียม (โลหะในกลุมน้ําหนักเบา การใชงานแพรหลาย)
แมกนีเซียม (โลหะกลุมน้ําหนักเบา)
ไททาเนียม (โลหะน้ําหนักเบา สมบัติทางกลและคงสภาพสูง)
ทองแดง (เนนเพื่อความสวยงามและทนการกัดกรอนเปนหลัก)
นิกเกิล (ซูเปอรอัลลอยที่คงสภาพดีในอุณหภูมิสูง)
สังกะสี (ทนทานตอการกัดกรอนไดดี และราคาไมสูง)
ดีบุก (ใชงานคลายสังกะสี)
โลหะซินเตอร (เทคโนโลยีโลหะผง มีทั้งเหล็กและนอกกลุม เหล็ก)
โลหะจํารูป (ยังไมแพรหลายในเชิงอุตสาหกรรม)
อะลูมิเนียม (aluminium; Al)
มีปริมาณการใชสูงเปนอันดับ 2 รองจากเหล็ก
น้ําหนักเบาประมาณเกือบ 1/3 ของเหล็ก
สมบัติทางกลต่ํามากในสภาพบริสทุ ธิ์ จึงนิยมใชในสภาพโลหะผสม มีทั้งชนิดที่อบชุบได และ
ไมได
จุดหลอมตัวต่ํา แตขึ้นรูปไดยาก เนื่องจากปญหาการเกิดแกส
เปนตัวนําที่ดี และทนทานตอการกัดกรอนไดกวางขวาง
ผลิตภัณฑที่เห็นชัด ไดแก ลอแมกซ เตารีด หมอหุงขาว กรอบประตูกระจก เสาสัญญาณ อุปกรณ
การแพทย (เฉพาะที่ใชภายนอก)
สามารถเรียกวา “อะลูมนิ ัม” ก็ได ซึง่ สอดคลองกับภาษาอเมริกา-อังกฤษ คือ aluminum แตหลายครั้ง พบวาใน
ประเทศไทยเรียกอะลูมิเนียมเปนชื่อสั้น ๆ วา “มีเนียม”
แมกนีเซียม (magnesium; Mg)
น้ําหนักเบากวาเหล็กมาก และสมบัติทางกลสูงกวาอะลูมิเนียมโดยทั่วไป
มีขอจํากัดการใชงานเนื่องจากอันตรายในระหวางขึน้ รูปที่อุณหภูมิสูง
ถูกเขาใจผิดวาใขผลิตเปนลอรถยนตที่เรียกวา “ลอแมกซ” ซึง่ ในความเปนจริงเปนเพียงสวนผสม
ในอะลูมิเนียมผสมบางเกรด เทานัน้
เปนธาตุผสมสําคัญที่ขาดไมไดในการผลิตเหล็กหลอเหนียว เนื่องจากเปนตัวกําหนดความกลม
ของเม็ดกราไฟตในเหล็กหลอ (0.003% Mg สําหรับการผลิตเหล็กหลอเหนียว)
ไททาเนียม (titanium; Ti)
มีน้ําหนักเบา โดยเฉพาะสัดสวนสมบัติทางกลตอน้ําหนักดีเลิศ
ความทนทานตอการกัดกรอนดีมาก ควบคูกบั น้ําหนักเบา จึงนิยมใชเปนชิ้นสวนเทียมในรางกาย
เชน ขอสะโพกเทียม รากฟนเทียม เปนตน
คงสภาพไดดีที่อุณหภูมิสูง ประกอบกับสมบัติทางกลดีและน้ําหนักเบา จึงไดรับการพัฒนาเปน
ชิ้นสวนสําหรับกระสวยอวกาศ
พบเห็นไดในสินคาราคาแพงใกลตัว เชน หัวไมกอลฟ หรือเรือนนาฬิกา
เปนโลหะชนิดหนึ่งในการพัฒนาโลหะจํารูป
ทองแดง (copper; Cu)
เปนโลหะชนิดแรกที่มนุษยยุคโบราณสามารถนํามาหลอมและทุบใหเกิดเหลี่ยมคม ใชเปนอาวุธ
ในการลาสัตว
เปนโลหะหนึ่งในไมกินชนิดที่มีสี จึงนิยมนํามาใชเพื่อความสวยงาม
เปนสวนผสมสําคัญในการเพิ่มสมบัติทางกลใหกับทองคํา
นิยมใชเปนสุขภัณฑ ทั้งที่มีขอจํากัดในการทดทานตอคลอรีนในน้ําประปา
ทั่วไปจะรูจักเพียงกลุมทองเหลือง ทองบรอนซ และทองแดงบริสุทธิ์ แตในทางอุตสาหกรรม มี
มากมาย ไดแก บรอนซดบี ุก บรอนซอะลูมินัม ซิลิคอนบรอนซ บราส (ทองเหลือง) อะลูมินัมบราส
เปนตน
พบเห็นทัว่ ไปในรูป ทองสําริด (พระพุทธูป) ทองเหลือง ทองบรอนซ และสายไฟฟา (ทองแดง
บริสทุ ธิ)์
นิกเกิล (nickel; Ni)
เปนที่รูจักในอุตสาหกรรมเครื่องจักรวาเปนโลหะกลุม “ซูเปอรอัลลอย”
เนื่องจากสมบัติทนทานตอการคืบ (creep) หรือความแข็งแรง (strength) ที่อุณหภูมิสูง ซึง่ เปน
สมบัตสิ ําคัญทีพ่ บยากในโลหะชนิดอื่น
ดวยสมบัติที่ดีเลิศ และความทนทานตอการกัดกรอนทีด่ ี ผลิตภัณฑจากนิกเกิลจึงมีราคาสูง
เชนเดียวกับไททาเนียม
มีการใชงานกวาง ทีส่ ําคัญคือเปนธาตุผสมในเหล็กกลาไรสนิม โดยในกลุมออสเทนนิติก นิกเกิล
ชวยเพิ่มเสถียรภาพของออสเทนไนต ทําใหไมเกิดความเปนแมเหล็ก มีประโยชนหลากหลายสําหรับ
ชิ้นสวนที่ไมตองการความเปนแมเหล็ก เชน เฟองนาฬิกา และชิ้นสวนทางอิเลคทรอนิกส เปนตน
สังกะสี (zinc; Zn)
ความตานทานการกัดกรอนดีเนื่องจากในธรรมชาติสังกะสีสามารถสรางฟลมออกไซดปกปอง
ตัวเองไดเชนเดียวกับโครเมียม
ราคาไมสูงนัก จึงเปนโลหะหลักที่นํามาเคลือบผิวเหล็กเพื่อกันสนิม เรียกวาแผนเหล็กเคลือบ
สังกะสี หรือ galvanized steel ทัง้ ที่ความจริง สังกะสีสามารถถูกกัดกรอนจากการสัมผัสกับเหล็กได
งายมาก
เปนโลหะหลักที่ใชในการออกแบบระบบปองกันการกัดกรอนของโครงสรางหรือทอ เรียกวา
sacrificial anode ในงาน cathodic protection
ดีบุก (Tin; Sn)
พบไดทวั่ ไปในรูปดีบุกเคลือบกระปอง หรือผลิตภัณฑแผนเหล็กเคลือบดีบุก (tin plate) ชวยให
แผนเหล็กทนทานตอการกัดกรอนไดดี
จุดหลอมเหลวต่ํา และความตานทานการกัดกรอนดี จึงนิยมใชเปนธาตุผสมเพื่อเพิม่ สมบัติ เชน
ในทองแดงผสม กลุมทองบรอนซ ผสมดีบุกชวยใหขึ้นรูปไดงาย
มีความลื่น จึงใชผสมในทองแดงผสม กลุมบรอนซ-ดีบุก เพื่อการใชงานเฉพาะสําหรับผลิตภัณฑ
ประเภทปลอกลื่น หรือ bush
โลหะอื่น ๆ
โครเมี่ยม (chromium; Cr) ชวยดานความทนทานตอการกัดกรอน ความแข็ง ใชผสมในเหล็กเกิด
เปนเหล็กกลาไรสนิม หรือเหล็กกลาผสมเพื่อการใชงานที่อุณหภูมิสูง (heat resisting steel) หรือการ
เคลือบผิวเปน chrome หรือ hard-chrome
ตะกั่ว (lead; Pb) จุดหลอมเหลวต่ํา ใชประโยชนดานการไหลตัวเพื่อการบัดกรี (soldering) และ
เปนสวนประกอบสําคัญในเซลลแบตเตอรี่ แตเนื่องจากเปนโลหะในกลุมมีพิษสูง จึงมีมาตรการหาม
การใชตะกั่วในอนาคต
แมงกานีส (manganese; Mn) ใชเปนธาตุผสมหลักในเหล็กกลากลุมทนตอการเสียดสี เชน เล็บ
ขุด เรียกวา manganese HADFIELD steel
Nonferrous metals
Heavy …...…...….Cu (copper), Ni (nickel), Pb (lead), Zn (zinc), Sn (tin)
Light ...………….Al (aluminium), Mg (magnesium), Ti (titanium), Be (beryllium),
Ca (calcium), Sr(strontium), Ba (barium), Li (lithium),
Na (sodium), K (potassium), Rb (rubidium), Cs (cesium)
Smaller minor ..…Co (cobalt), Cd (cadmium), Sb (antimony), Bi (bismuth),
Hg (mercury), As (arsenic)
Noble …...……... Au (gold), Ag (silver), Pt (platinum), Os (osmium), Ir (iridium),
Ru (ruthenium), Rh (rhodium), Pd (palladium)
Refractory ...…… W (tungsten), Mo (molybdenum), V (vanadium), Ta (tantalum),
Ti (titanium), Nb (niobium), Cr (chromium), Mn (manganese),
Zr (zirconium), Re (rhenium)
Rare earth ……. Sc (scandium), Y (yttrium), La (lanthanum), Ce (cerium),
Pr (praseodymium), Nd (neodymium), Sm (samarium),
Eu (europium), Gd (gadolinium), Tb (terbium), Yb (ytterbium),
Dy (dysprosium), Ho (holmium), Er (erbium), Tu (thulium),
Lu(lutecium) Disseminated Ge (germanium), Ga (gallium),
Tl (thallium), Re (rhenium), Hf (hafnium), In (indium)
Radioactive ……..U (iranium), Th (thorium), Pa (protactinium), Ra (radium),
Np (neptunium), Pu (plutonium)
โลหะจํารูป (shape memory alloy)
หลักการ :
ทําใหเกิดความคงตัวของรูปทรง (ทีต่ ามองเห็น) กับโครงสรางจุลภาค (ตามองไมเห็น) ใน
สภาวะหนึง่ ๆ (ซึง่ ไมใชสภาวะใชงาน) คลายการทําใหโลหะจํารูปทรงทีส่ อดคลองกันนัน้
ไว ซึง่ เมือ่ เกิดการทําลายสภาพหนึ่ง (รูปทรงที่ตามองเห็น) และโครงสรางจุลภาคไดรับผล
ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงโดยอัตโนมิติ
แตเมื่อนําโลหะกลับเขาสูส ภาวะที่ใหโลหะจําในครั้งแรก โครงสรางจุลภาคเกิดการ
เปลี่ยนแปลงกลับ ทําใหเกิดกลไกการคืนตัวที่มีผลตอรูปทรงหรือรูปรางที่ตามองเห็นใน
กลับไปสูเ งื่อนไขความสอดคลองของรูปทรงและโครงสรางจุลภาคดั้งเดิมได
ระบบการจําสภาพของโลหะจํารูป (1)
รูปทรงที่ 1
โครงสรางจุลภาค 2
รูปทรงที่ 1
โครงสรางจุลภาค 1
อบชุบความรอน เพื่อสรางระบบ
การจําใหกับโลหะ คลายการ
กําหนดรูปแบบใหเกิดการคง
สภาพทีส่ ภาวะหนึ่ง
ระบบการจําสภาพของโลหะจํารูป (2)
รูปทรงที่ 2
โครงสรางจุลภาค 1
รูปทรงที่ 1
โครงสรางจุลภาค 1
แรงกระทําจากภายนอก ทําให
รูปทรงเปลี่ยนไป
ระบบการจําสภาพของโลหะจํารูป (3)
รูปทรงที่ 2
โครงสรางจุลภาค 2
รูปทรงที่ 2
โครงสรางจุลภาค 1
โครงสรางจุลภาค 1 ไมเสถียร เนื่องจาก
พลังงานทางกลทีเ่ กิดขึ้นจากการทําให
เปลี่ยนจากรูปทรงที่ 1 ไปสูร ูปทรงที่ 2
ระบบการจําสภาพของโลหะจํารูป (4)
รูปทรงที่ 2
โครงสรางจุลภาค 2
นําโลหะเขาสูส ภาวะที่เพียงพอแกการ
เกิดโครงสรางจุลภาคที่ 2 เมื่อนั้น โลหะ
จะเกิดการจํารูปทรงที่ถูกกําหนดให
สอดคลองกัน นั้นคือรูปทรงที่ 1 ทําให
โลหะปรับรูปทรงคืนไดเอง
รูปทรงที่ 1
โครงสรางจุลภาค 1
การนําไปใชงาน
ขาแวนตา ที่ถูกดัดงอและสามารถคืนตัวได
เหล็กดัดฟน ที่คืนตัวพรอมกับการดึงฟนใหเขาตําแหนง
อุปกรณการแพทย ที่เปลี่ยนรูปทรงเพื่อการเขาถึงตําแหนง
ชิ้นสวนรถยนต ที่คืนสภาพไดหลังถูกทําใหเสียรูปจากการชน
ตัวอยางของ MTEC เปน 50:50 Ti:Ni
Sponsor Documents