solidworks

Published on November 2016 | Categories: Documents | Downloads: 163 | Comments: 0 | Views: 1382
of 140
Download PDF   Embed   Report

solidworks

Comments

Content

คูม่ ือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม
SolidWorks

ศูนย์เครื อข่ายเพือการออกแบบ
ทีเป็ นมิตรต่อสิงแวดล้ อม

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

คํานํา
คูม่ ือนี&จดั ทําขึ&นเพื*อใช้เพื*อใช้ประกอบการฝึ กอบรมหลักสู ตรการฝึ กอบรมการโปรแกรม SolidWorks
เบื&องต้นในการเขียนแบบและออกแบบทางวิศวกรรม และเพื*อเพิม* ความชํานาญและความชํานาญในการใช้
เครื* องมือที*จาํ เป็ นของโปรแกรม ซึ*งหลักสู ตรนี&เป็ นหลักสู ตรสําหรับเผยแพร่ ความรู ้ในการใช้งานโปรแกรม
เขียนแบบให้กบั บุคคลทัว* ไปและอุตสาหกรรมจัดขึ&นโดยศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
หากมีขอ้ บกพร่ องประการใดผูเ้ ขียนขอน้อมรับคําวิจารณ์และติชมเพื*อแก้ไขให้ดียง*ิ ขึ&นต่อไป
ผูจ้ ดั ทํา

2

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

สารบัญ
คํานํา................................................................................................................................................................1
แนวทางการฝึ กอบรม ......................................................................................................................................4
บทที( 1. แนะนําโปรแกรม............................................................................................................................5
1. Introduction of Computer Aided Design (CAD) ....................................................................................5
2. Overview of SolidWorks ........................................................................................................................6
3. เริ* มต้นการใช้งานกับ SolidWorks ...........................................................................................................7
บทที( 2. Work Shop ...................................................................................................................................18
1. Part........................................................................................................................................................18
2. Assembly ..............................................................................................................................................37
3. Drawing ................................................................................................................................................41
บทที( 3. ฝึ กทักษะเพิม* เติม ..........................................................................................................................49
1 Part.........................................................................................................................................................49
2 Assembly .............................................................................................................................................109
บทที( 4. แบบฝึ กหัด ..................................................................................................................................129

3

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

แนวทางการฝึ กอบรม
ชื(อการอบรม:

วัตถุประสงค์:

เนือ5 หาการฝึ กอบรม:

ระยะเวลา:

การประเมินผล:

การฝึ กอบรมการโปรแกรม
SolidWorks
เบื&องต้นในการเขียนแบบและออกแบบทาง
วิศวกรรม
1. เพื*อเข้าใจลักษณะการทํางานของโปรแกรม
2. เพื*อฝึ กทักษะในการใช้โปรแกรมเขียนแบบ
SolidWork เบื&องต้น
3. สามารถนําโปรแกรมไปใช้งานได้อย่างมี
ประสิ ทธิภาพ
การอบรมจะกําหนดให้ผเู ้ ข้าฝึ กอบรมได้ฝึก
และเข้าใจในการใช้งานโปรแกรม 3 ส่ วน
ด้วยกันคือ
1. Part
2. Assembly
3. Drawing
ใช้ระยะเวลาในการฝึ กอบรม 3 วัน
วันที* 1
Part
วันที* 2
Assembly, Drawing
วันที* 3
ฝึ กความชํานาญและทดสอบ
การใช้งาน
จะจัดการประเมินผลหลังจบการอบรมในแต่
ละส่ วน (Part, Assembly และ Drawing) และ
ทดสอบในวันสุ ดท้ายของการฝึ กอบรม

4

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

บทที( 1. แนะนําโปรแกรม
1. Introduction of Computer Aided Design (CAD)
คอมพิวเตอร์ช่วยงานทางด้านออกแบบ (Computer Aided Design: CAD) คือการนําเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์มาช่วยในการออกแบบเขียนแบบชิ&นงานหรื อผลิตภัณฑ์ งานเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์น& นั
สามารถทําได้ท&งั แบบสองมิติ (2D) และสามมิติ (3D) ขึ&นอยูก่ บั ความสามารถของแต่ละโปรแกรม
CAD ถูกใช้ในงานออกแบบเครื* องมือ เครื* องจักรกล, กระบวนการผลิตชิ&นส่ วนต่างๆ และใช้สาํ หรับ
ออกแบบโครงสร้างอาคารทั&งขนาดเล็กและใหญ่ ซึ*งเทคโนโลยีทางด้าน CAD เริ* มมีความสําคัญมากขึ&น
เรื* อยๆ เนื*องจากการการออกแบบในปัจจุบนั มีความต้องการความรวดเร็ วและแม่นยําเที*ยงตรงในการทํางาน
ซึ*งเกิดจากการเติบโตและแข่งขันกันทางธุรกิจ
Software ทางด้าน CAD ในปัจจุบนั นั&นมีให้เลือกใช้มากมาย อาทิเช่น AutoCAD, Mechanical Desktop,
Inventor, NX, Catia, SolidWorks ฯลฯ ซึ*งการใช้งานแต่ละโปรแกรมนั&นคงต้องพิจารณาถึงความจําเป็ น ซึ*ง
โดยทัว* ไปแล้วจะขึ&นอยูก่ บั บริ ษทั ลิขสิ ทธิiของบริ ษทั นั&นๆ ซึ*งถ้าหากนําโปรแกรมมาใช้โดยไม่มีลิขสิ ทธิiมาใช้
ทางการค้าถือว่าเป็ นการกระทําที*ผดิ กฎหมาย

5

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

2. Overview of SolidWorks
โปรแกรม SolidWorks เป็ นโปรแกรมสําหรับงานเขียนแบบทางวิศวกรรมที*ช่วยเหลือวิศวกรในการ
ออกแบบ และผลิตชิ&นงาน หรื อผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ ซึ*งกําลังเป็ นที*นิยมในอุตสาหกรรมต่างๆ เนื*องจากการใช้
งานที*ง่ายและสะดวกต่อการนํนําไปผลิตชิ&นงานทางอุตสาหกรรม SolidWorks มีความสามารถในการรองรั
ามสามารถในการรองรับ
โปรแกรมทางด้านงานวิเคราะห์ทางวิศวกรรม (CAE) และการผลิต (CAM) เช่น Cosmos, Auto PIPE,
CastCAE และ SolidCAM โปรแกรมได้ถูกพัฒนาอย่างต่อเนื*องหลายเวอร์ชนั* เพื*อรองรับการทํางานที*
หลากหลายในปัจจุบนั และอนาคต
ละอนาคต ซึ*งในเอกสารนี&จะมี
ะ เนื&อหาครอบคลุมตั&งแต่ เวอร์ ชนั* SolidWorks 2003
ถึง SolidWorks 2008
ผลิตภัณฑ์ SolidWorks จะแบ่งแยกเป็ นสองประเภท นัน* คือผลิตภัณฑ์ที*ใช้ทางการค้าและทางด้าน
การศึศึกษา และแต่ละผลิตภัณฑ์จะแบ่งระดับออกเป็ นสามระดับ ซึ*งจะมีฟังก์ชนั* การใช้งานที*เพิม* เติมเมื*อ
ระดับสู งขึ&น

Commercial
Product

Educational
Product

SolidWorks
Standard

SolidWorks
Student
Design Kit

SolidWorks
Professional

SolidWorks
Education
Edition

SolidWorks
Premium

SolidWorks
Student
Editon

ภายในตัวโปรแกรมสามารถแบ่งเป็ นส่ วนย่อยได้ 3 ส่ วนด้วยกันคือ Part, Assembly และ Drawing ซึ*งจะ
มีหน้าที*ในการทํางานที*แตกต่างกัน อย่างไรก็ตามการสร้างการประกอบชิ&นงาน (Assembly) หรื อการสร้าง
แบบสองมิติ (2D) จะต้องเริ* มต้นจากการสร้างชิ&นงานเบื&องต้น (Part) เสมอ หรื อว่
อว่านําไฟล์ (Import) มาจาก
ไฟล์นามสกุลอื*น

6

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

รู ปแสดงงานที*ได้จากการออกแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks

3. เริ(มต้ นการใช้ งานกับ SolidWorks
การเข้าสู่ โปรแกรมสามารถทําได้โดยดับเบิล& คลิกที*ไอค่อนบนหน้าจอคอมพิวเตอร์หรื อเลือกที*เมนู Start
หน้าต่างของโปรแกรมจะปรากฏดังรู ปด้านล่าง

รู ปแสดงหน้าต่าง SolidWorks เมื*อเปิ ดโปรแกรม

7

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

- เริ* มต้นงานใหม่
เมื*อต้องการใช้งานโปรแกรมด้วยการโดยการทํางานใหม่ ให้เลือก File บนเมนูบาร์ และเลือก New หรื อ
เลือกไอค่อน New
จาก Tools bar Standard ก็ได้ หลังจากนั&นโปรแกรมจะแสดงหน้าต่าง New
SolidWorks Document เพื*อให้เลือกลักษณะในการใช้งาน ซึ*งจะประกอบด้วยสามส่ วนด้วยกัน คือ Part,
Assembly และ Drawing หากจะต้องการใช้งานในส่ วนใดก็เลือกไอค่อนนั&นและเลือก OK

หน้าต่าง New SolidWorks Document
- การเปิ ดข้ อมูล
เปิ ดข้อมูลที*ทาํ ไว้ก่อนหน้าโดยเลือก File และ Open คําสัง* นี&สามารถเปิ ดไฟล์ได้ท&งั สามรู ปแบบ
- การ save ข้ อมูล
การ save ครั&งแรกสามารถทําได้โดยเลือก File และเลือก Save As… และเมื*อต้องการ save ในครั&งต่อไป
ให้เลือก Save โดยมาตรฐานของ Solidworks นั&นจะมีนามสกุลของไฟล์สามแบบ คือ .prt สําหรับไฟล์ที*
เป็ นชิ&นงานย่อย .asm สําหรับงานประกอบ และ .drw สําหรับไฟล์ Drawing นอกจากนามสกุลมาตรฐาน
ของ SolidWorks แล้ว ยังสามารถที*จะ save เป็ นนามสกุลอื*นได้อีกด้วยเพื*อแปลงไฟล์สาํ หรับใช้กบั
โปรแกรมอื*นๆ ไม่วา่ จะทางด้าน CAD, CAE หรื อ CAM เป็ นต้น
- การเลือกใช้ งานแถบเครื(องมือ Tools bar
การเลือกแถบเครื* องมือขึ&นมาใช้งานนั&นสามารถทําได้หลายโดยเลือก Tools บนเมนูบาร์ (Menu bar)
และเลือกคําสัง* Customize จะปรากฏหน้าต่างดังรู ปด้านล่าง ที* Tools bar ให้เลือกแถบเครื* องมือที*ตอ้ งการ
แถบเครื* องมือนั&นก็จะปรากฏบนหน้าต่างโปรแกรมของเรา หรื อสามารถเพิม* แถบเครื* องมืออย่างรวดเร็ วโดย
กดเมาส์ขวาตรงที*วา่ งบน Menu bar จะมีแถบเครื* องมือให้เลือกใช้งาน

8

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

รู ปแสดงหน้าต่างสําหรับเลือกแถบเครื* องมือ
- การปรับเปลีย( น Options
ลักษณะการใช้งานของโปรแกรมนั&นจําเป็ นจะต้องมีการปรับเปลี*ยนตามความต้องการในการใช้งาน
ของผูใ้ ช้เช่น หน่วย (Unit) หรื อรู ปแบบหน้าจอที*จะใช้งาน การเปลี*ยนแปลง Options สามารถทําได้โดยเลือก
Tools – Options หน้าต่าง Options จะปรากฏดังรู ปด้านล่าง

หน้าต่าง Options
บนหน้าต่างนี&จะแบ่งเป็ นสองส่ วนหลักๆคือ System Option และ Document Properties ซึ* งสามารถ
ปรับเปลี*ยนรู ปแบบการแสดงผล, หน่วย, การบอกขนาด และอื*นๆ

9

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

3.1 Part
ในส่ วนของ Part เป็ นการสร้างชิ&นงานย่อยซึ*งเปรี ยบเสมือนขั&นตอนแรกของการใช้งาน SolidWorks
ชิ&นงานย่อยจะถูกสร้างขึ&นในรู ปแบบของรู ป 3มิติ (3D) การขึ&นรู ปชิ&นงานนั&นจะมีเครื* องมือแต่ละประเภท
รองรับการทํางานโดยเริ* มจากการวาดภาพร่ าง (Sketch) ลงบนระนาบ (Plane) ที*ตอ้ งการในพื&นทํางานของ
โปรแกรม ระนาบเบื&องต้นที*โปรแกรมสร้างไว้ให้น& นั มี 3 ระนาบคือ Front Plane, Top Plane และ Side Plane
แต่ในการทํางานจริ งนั&นจําเป็ นจะต้องสร้างระนาบขึ&นใหม่เพื*อความสะดวกในการสร้างชิ&นงาน เมื*อทําการ
ร่ างภาพเสร็ จแล้วจึงใช้เครื* องมือในแถบ Features ในการสร้างรู ป 3มิติ (3D part)
แถบเครื* องมือที*สาํ คัญ
- View ชิ&นงานที*สร้างขึ&นสามารถหมุนเพื*อดูรูปร่ างลักษณะได้ซ* ึงในแถบเมนู View มีคาํ สัง* ใช้ในการ
เคลื*อนย้ายและหมุนวัตถุที*สร้างขึ&น
อีกทั&งยังสามารถเลือกรู ปแบบของชิ&นงานให้มีลกั ษณะเป็ นทรงตัน
(Solid) หรื อเป็ นโครงลวดได้ (Wire frame)

รู ปแสดงแถบเครื* องมือ View
1). มุมมองแบบ Wire Frame มุมมองนี&จะมองชิ&นงานแบบโครงลวด คือ มองเห็นเส้นทุกเส้นที*
ประกอบกันเป็ นตัววัตถุเป็ นเส้นเต็มคล้ายกับนําลวดมาทําเป็ นโครง ซึ*งสามารถมองทะลุตวั วัตถุได้
2). มุมมองแบบ Hidden Lines Visible
ลักษณะของมุมมองนี&จะคล้ายคลึงกับแบบ Wire
Frame ยกเว้นเส้นที*ถูกวัตถุบงั อยูน่ & นั จะมีลกั ษณะเป็ นเส้นประ
3). มุมมองแบบ Hidden Lines Removed เส้นที*ถูกบังอยูจ่ ะไม่สามารถมองเห็นได้
4). มุมมองแบบ Shadow in Shaded made ในคําสัง* นี&จะเพิม* ความสวยงามให้กบั ตัวชิ&นงานโดย
เมื*อใช้คาํ สัง* นี&แล้วจะเพิม* แสงเงาให้กบั ตัววัตถุ
5). มุมมองแบบ Shaded with edges
โดยส่ วนใหญ่เวลาใช้งานจริ งจะสร้างวัตถุดว้ ยมุมมองนี&
เนื*องจากเป็ นมุมมองที*สามารถสร้างชิ&นงานได้ถนัดเนื*องจากจะมองชิ&นงานเป็ นทรงตัน (Solid) ซึ*งจะแสดง
เส้นขอบด้วย

10

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

6). มุมมองแบบ Shaded
ลักษณะการมองเห็นจะเป็ นชิ&นงานทรงตันแต่จะแตกต่างกับ Shaded
with edges ตรงที*ไม่มีเส้นขอบ
7). มุมมองแบบ Section View เป็ นมุมมองจากการตัดหรื อผ่าชิ&นงานเพื*อดูลกั ษณะภายใน
8). คําสัง* Rotate View ใช้สาํ หรับหมุนชิ&นงาน
9). คําสัง* Pan ใช้สาํ หรับเลื*อนหรื อเคลื*อนย้ายชิ&นงานบนหน้าจอ

a)

b)

c)

d)

e)
รู ปเปรี ยบเทียบมุมมองต่างๆ: a) Wire Frame, b) Hidden Lines Removed, c) Hidden Lines Removed, d)
Shaded with edges และ e) Shaded
- Standard View เมนูน& ีใช้สําหรับเลือกมุมมองต่างๆของชิ&นงานเช่น ด้านหน้า (Front View) ด้านข้าง
(Side View) และด้านบน (Top View) นอกจากนี&ยงั สามารถมองในรู ปแบบ 3 มิติ (3D) เช่น Isometric,
Trimetric และ Diametric View ได้อีกด้วย

11

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

1). Front
2). Back
3). Left
4). Right
5). Top
6). Bottom
7). Isometric
8). Trimetric
9). Diametric

รู ปแสดงแถบเครื* องมือ Standard View
- มองชิ&นงานทางด้านหน้า
- มองชิ&นงานทางด้านหลัง
- มองชิ&นงานทางด้านซ้าย
- มองชิ&นงานทางด้านขวา
- มองชิ&นงานทางด้านบน
- มองชิ&นงานทางด้านล่าง
- มองชิ&นงานแบบ Isometric
- มองชิ&นงานแบบ Trimetric
- มองชิ&นงานแบบ Diametric

- Sketch เครื* องมือนี&ถือว่าเป็ นเครื* องมือหลักสําหรับเขียนเส้นสองมิติ (2D) ซึ*งใช้สาํ หรับร่ างแบบเพื*อ
กําหนดลักษณะรู ปร่ าง ขนาดของชิ&นงานเป็ น 2 มิติ ก่อนที*จะทําการสร้างชิ&นงาน 3 มิติ โดยจะมีเครื* องมือใน
การสร้างหลายรู ปแบบ เช่น เส้นตรง เส้นโค้ง วงกลม สี* เหลี*ยมเป็ นต้น

รู ปแสดงแถบเครื* องมือ Sketch
การเขียนแบบร่ างที*ถูกต้องนั&น เส้นทุกเส้นจะต้องมีการบอกขนาดซึ*งจะต้องมีการบ้างอิงกับจุดกําเนิด
(Origin Point) บนพื&นที*การทํางานของโปรแกรมเพื*อให้แบบร่ างเป็ นแบบ Fully Defined (หากเส้นยังไม่มี
การบอกขนาดเส้นจะเป็ นสี น& าํ เงิน เมื*อมีการบอกขนาดจนเป็ น Fully Defined แล้ว เส้นจะเปลี*ยนเป็ นสี ดาํ )

12

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

สําหรับเหตุผลและความจะเป็ นจะต้องให้เป็ นแบบ Fully Defined นั&นก็เพื*อว่าหากมีการแก้ไขเส้นร่ างต่างๆ
แล้ว ขนาดของเส้นอื*นๆที*ไม่จาํ เป็ นต้องแก้ไขจะไม่มีการผิดเพี&ยนไป

a)
b)
รู ปแสดงความแตกต่างของเส้นร่ าง: a) Fully Defined Sketch, b) Not Fully Defined Sketch
1). คําสัง* Line
ใช้สาํ หรับสร้างเส้นตรงสร้างโดยเลือกจุดเริ* มต้นและจุดปลายของเส้นซึ*งเส้นที*
ได้น& นั จะมีลกั ษณะเป็ นเส้นทึบ โดยปกติถา้ หากยังไม่มีการกําหนดขนาดสี ของเส้นจะเป็ นสี น& าํ เงิน
2). คําสัง* Centerline
จะมีลกั ษณะการใช้งานเช่นเดียวกับ Line แต่วา่ เส้นที*ได้น& นั จะไม่ทึบซึ*ง
เส้นนี&จะไม่สามารถใช้เป็ นเส้นขอบสําหรับขึ&นรู ปสามมิติได้ โดยทัว* ไปจะใช้เพื*ออ้างอิงความสัมพันธ์ให้กบั
เส้นอื*นๆ
ใช้สร้างรู ปสี* เหลี*ยมสร้างโดยกําหนดจุดที*มุมทะแยงของทั&งสอง
3). คําสัง* Corner Rectangle
ข้าง จะสร้างได้เฉพาะทิศทางบนแนวระนาบเท่านั&น
4). คําสัง* Center Rectangle สร้างรู ปสี* เหลี*ยมด้วยการกําหนดจุดกึ*งกลางของสี* เหลี*ยมเพื*อเป็ น
จุดอ้างอิงของของรู ป
5). คําสัง* 3 Point Corner Rectangle ใช้สร้างรู ปสี* เหลี*ยมโดยเลือกมุมทั&งสามจุด
6). คําสัง* 3 Point Center Rectangle สร้างรู ปสี* เหลี*ยมโดยเลือกที*จุดศูนย์กลางรู ปจุดกึ*งกลางของ
เส้นและมุมของเส้น
7). คําสัง* Parallelogram สร้างรู ปสี* เหลี*ยมขนมเปี ยกปูนโดยกําหนดจุดที*มุม 3 จุด
8). คําสัง* Circle สร้างรู ปวงกลมโดยการเลือกจุดศูนย์กลาง
9). คําสัง* Centerpoint Arc
สร้างเส้นรอบวงโดยเลือกจุดศูนย์กลาง จุดเริ* มต้นของเส้นและจุด
ปลายของเส้น
10). คําสัง* Tangent Arc เป็ นการสร้างเส้นโค้งที*มีลกั ษณะกลมให้สัมผัสกับเส้นตรง
11). คําสัง* 3 Point Arc สร้างเส้นโค้งวงกลมด้วยจุดปลายสองจุดและจุดกึ*งกลางเส้นโค้ง
12). คําสัง* Spline
เป็ นการสร้างเส้นโค้งแบบไร้ทิศทางซึ*งเลือกจุดต่างๆที*ตอ้ งการให้เส้นโค้ง
ลากผ่าน
13). คําสัง* Elipse ใช้สร้างรู ปวงรี โดยเลือกจุดกึ*งกลางและจุดปลายของรัสมีท&งั สองด้าน

13

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

14). คําสัง* Partial Ellips ใช้สร้างเส้นรู ปวงรี โดยมีส่วนปลายเส้นไม่ติดกัน
15). คําสัง* Parabola ใช้สร้างรู ปพาราโบล่า
16). คําสัง* Sketch Fillet ลมมุมของเส้นให้โค้ง
17). คําสัง* Sketch Chamber ลมมุมของเส้นให้เป็ นลักษณะเรี ยบ
18). คําสัง* Polygon ใช้สร้างรู ปหลายเหลี*ยมซึ*งสามารถกําหนดจํานวนเหลี*ยมที*ตอ้ งการได้
19). คําสัง* Point สําหรับใช้สร้างจุด
20). คําสัง* Text ใช้สาํ หรับใส่ ตวั อักษรที*เป็ นเส้น Sketch
21). คําสัง* Trim Entities
ใช้สาํ หรับตัดเส้นร่ างที*ไม่ตอ้ งการทิง& ทั&งนี&ท&งั นั&นส่ วนที*จะตัดทิง&
จะต้องมีเส้นร่ างอื*นตัดกันอยู่
22). คําสัง* Convert Entities
ใช้สาํ หรับเปลี*ยนเส้นต่างๆไม่วา่ จะเป็ นขอบชิ&นงานหรื อว่าเป็ น
เส้นร่ างอื*นมาเป็ นเส้น Sketch
เป็ นการสร้างเส้นขนานไปตามเส้นร่ างเดิมซึ*งสามารถกําหนด
23). คําสัง* Offset Entities
ระยะห่างของทั&งสองเส้นได้
24). คําสัง* Mirror Entities
ใช้สะท้อนเส้นร่ างที*มีลกั ษณะสมมาตรกันโดยจะต้องมีเส้นหนึ*ง
เส้นเป็ นเส้นที*ใช้แบ่งแนวการสะท้อน
25). คําสัง* Linear Sketch Pattern เป็ นการคัดลอกเส้นต่างๆไปตามแนวที*เราต้องการ
26). คําสัง* Smart Dimension
ใช้สาํ หรับกําหนดขนาดของ Sketch ต่างๆ
- Features ใช้สาํ หรับสร้างชิ&นงานรู ปสามมิติ (3D) หลังจากได้สร้างเส้นร่ าง (Sketch) เสร็ จแล้ว ซึ*งจะมี
ฟังก์ชนั* รองรับมากมายง่ายและรวดเร็ วต่อการใช้งาน

รู ปแสดงแถบเครื* องมือ Features
1). คําสัง* Extruded Boss/Base
2). คําสัง* Revolved Boss/Base

ใช้สาํ หรับยืดชิ&นงานตามขนาดที*ตอ้ งการ
ใช้สาํ หรับสร้างชิ&นงานที*มีลกั ษณะเป็ นวงเช่นล้อยางรถยนต์เป็ น

ต้น
3). คําสัง* Swept Boss/Base
เส้นจะมีขนาดหน้าตัดเท่ากัน

ใช้สาํ หรับสร้างชิ&นงานให้วง*ิ ไปตามเส้นต่างๆ ซึ*งในแต่ละช่วงของ

14

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

4). คําสัง* Loft Boss/Base
เป็ นการเชื*อมหน้าตัดของรู ปที*มีลกั ษณะต่างกันเช่นสี* เหลี*ยมกับ
วงกลม
5). คําสัง* Extruded Cut เป็ นการตัดชิ&นงานลงไปตากลักษณะของเส้นร่ างที*เราสร้างขึ&น
6). คําสัง* Revolved Cut เป็ นการตัดชิ&นงานด้วยลักษณะตัดเป็ นวง
7). คําสัง* Swept Cut ตัดชิ&นงานตามเส้นที*กาํ หนด
8). คําสัง* Loft Cut เป็ นการตัดชิ&นงานที*มีรูปแบบการตัดที*มีรูปแบบต่างกันของสองหน้าตัด
9). คําสัง* Fillet สําหรับลมมุมชิ&นงานเป็ นส่ วนโค้ง
10). คําสัง* Chamfer สําหรับลมมุมชิ&นงานแบบหน้าเรี ยบ
11). คําสัง* Shell
ใช้สาํ หรับสร้างชิ&นงานกลวงจากทรงตันโดยมีผวิ ด้านหนึ*งเปิ ดออก
12). คําสัง* Linear Pattern ใช้สาํ หรับคัดลอกชิ&นงานไปในทิศทางที*ตอ้ งการ
13). คําสัง* Circular Pattern ใช้สาํ หรับคัดลอกชิ&นงานโดยมีลกั ษณะการวางแบบหมุนรอบแกน
14). คําสัง* Mirror สะท้อนชิ&นงานโดยใช้ระนาบใดๆในการสะท้อน
3.2 Assembly
ในส่ วนของ Assembly นั&นเป็ นการนําชิ&นส่ วนย่อยที*สร้างขึ&นในส่ วนของ Part มาประกอบเข้าด้วยกัน
เป็ นตัวเครื* องจักรหรื ออุปกรณ์อื*นๆตามที*ได้ออกแบบไว้
แถบเครื* องมือที*สาํ คัญ
-Assembly แถบเครื* องมือนี&เป็ นแถบเครื* องมือที*จาํ เป็ นเพิม* เติมจากที*ได้กล่าวมาแล้วในส่ วนของ Part
เพื*อใช้ในการประกอบชิ&นงาน การประกอบแต่ละชิ&นส่ วนจะอาศัยความสัมพันธ์กนั ของชิ&นงานทั&งสองชิ&นที*
ต้องนํามาประกอบ

รู ปแสดงแถบเครื* องมือ Assembly
1). Insert Components ใช้สาํ หรับเลือกชิ&นงานออกมาประกอบ
2). Mate ใช้กาํ หนดความสัมพันธ์ของชิ&นงานต่างๆเข้าด้วยกัน
3). Linear Component Pattern สําหรับคัดลอกชิ&นงานที*ตอ้ งการในทิศทางที*กาํ หนด
4). Move Component สําหรับเคลื*อนย้ายชิ&นส่ วนไปในตําแหน่งต่างๆ
5). Rotate Component ใช้สาํ หรับหมุนชิ&นงานตามทิศทางที*ตอ้ งการ
6). New Motion Study ใช้สาํ หรับจําลองการเคลื*อนที*ของงานที*ประกอบขึ&น
15

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

7). Exploded View ใช้สาํ หรับสร้างการ Explode ชิ&นงาน
8). Interference Detection ใช้สาํ หรับทดสอบการชนกันของชิ&นงานต่างๆ
3.3 Drawing
แถบเครื* องมือที*สาํ คัญ
- Drawing

1). Model View เป็ นการเลือกชิ&นงานเพื*อนํามาวางบนกระดาษ
2). Projected View ใช้สาํ หรับฉายรู ปไปยัง view ต่างๆ
3). Auxiliary View ใช้สาํ หรับฉายรู ปไปยัง view ต่างๆ
4). Section View ใช้สาํ หรับสร้างภาคตัดของชิ&นงาน
5). Detail View สําหรับสร้างรายละเอียดชิ&นงานในจุดที*ตอ้ งการ
6). Standard 3 View สําหรับฉายรู ปไปในทิศทางตามมาตรฐาน
7). Broken-Out Section สําหรับสร้างภาคตัดเฉพาะส่ วน
8). Break สําหรับย่นชิ&นงานที*มีลกั ษณะยาวจนเกินไป เช่น ท่อ
- Annotation

1). Note สําหรับสร้างคําอธิบายต่างๆ
2). Balloon สําหรับสร้างป้ ายบอกลําดับของชิ&นงานในรู ปประกอบ
3). AutoBalloon เป็ นการสร้างป้ ายบอกลําดับแบบอัตโนมัติ
4). Surface Finish เครื* องหมายสําหรับบอกลักษณะและความละเอียดพื&นผิว
5). Weld Symbol สัญลักษณ์งานเชื*อม
6). Area Hatch/fill การกําหนดรู ปแบบของพื&นที*ภาคตัด
7). Center Mark สําหรับสร้างเส้น center mark ของรู ปวงกลม
8). Centerline สําหรับสร้างเส้น centerline ของทรงกระบอก
9). Bill of Materials สําหรับสร้างตารางรายการวัสดุ

16

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

- Dimensions/Relations

สําหรับใช้บอกขนาดของชิ&นงานซึ*งโดยทัว* ไปแล้วจะใช้คาํ สัง* Smart Dimensions เป็ นส่ วนใหญ่
เนื*องจากสามารถบอกขนาดได้หลากหลาย แต่อย่างไรก็ตาม ก็ยงั มีเครื* องมือบอกขนาดในรู ปแบบอื*นอีกซึ*ง
เป็ นการช่วยเพิม* ความสะดวกในการบอกขนาดด้วย

17

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

บทที( 2.

Work Shop

1. Part
1.1 Case study 1 (การใช้งาน Sketch, การสร้าง Plane และคําสัง* Extruded)
1). เปิ ดหน้าต่างใหม่ข& ึนมา
และเลือกสร้างชิ&นงานใหม่ในรู ปแบบ Part เลือก Front Plane บน
Feature Manager Design Tree จากนั&น ใช้คาํ สัง* Normal To เพื*อให้ระนาบ Front Plane อยูใ่ นลักษณะ
สองมิติ (2D) เพื*อง่ายต่อการสร้างเส้นร่ าง

รู ปแสดงการเลือกระนาบ Front Plane บน Feature Manager Design Tree
2). สร้างเส้นร่ างด้วยคําสัง* Corner Rectangle
บนพื&นที*วา่ ง โดยให้เส้นล้อมรอบจุดกําเนิด
(Origin) ไว้ ซึ*งยังไม่คาํ นึงถึงขนาดของเส้นร่ าง เลือก บนหน้าจอมุมบนซ้าย จะเห็นว่าเส้นที*ได้จะเป็ นสี
นํ&าเงิน

3). เลือกคําสัง* Centerline
ด้านข้างขวา เลือก

ลากเส้นโยงจากจุด Origin ไปยังกึ*งกลางของเส้นด้านบน และ

18

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

4). กําหนดความสัมพันธ์ของเส้นต่างๆ โดย
- เลือกเส้นตรงด้านบน และกดปุ่ ม Ctrl บนคียบ์ อร์ ด และเลือกจุดบนเส้นที*เกิดจากเส้น
Centerline ที*ดา้ นซ้ายมือของหน้าจอจะปรากฏ กล่องข้อความ Add Relations ซึ*งใช้กาํ หนดความสัมพันธ์
ขึ&นมา ให้เลือกความสัมพันธ์แบบ Midpoint จะสังเกตเห็นว่าจุดเลื*อนไปอยูท่ ี*จุดกึ*งกลางของเส้นด้านบน (ให้
ทํากับเส้นด้านข้างด้วยวิธีเดียวกัน)

- เลือกเส้น Centerline ที*มีทิศทางในแนวตั&ง และกําหนดความสัมพันธ์เป็ นแบบ Vertical ซึ*งจะทํา
ให้เส้นนั&นถูกกําหนดอยูใ่ นรู ปตั&งฉากกับแนวระนาบ
- เลือกเส้น Centerline ที*มีทิศทางในแนวนอน และกําหนดความสัมพันธ์เป็ นแบบ Horizontal เส้น
จะถูกจัดรู ปแบบเป็ นแนวระนาบ

- เลือกเส้นด้านบน และกด Ctrl ค้างไว้และเลือกเส้นทางด้านขวา กําหนดความสัมพันธ์เป็ นแบบ
Equal จะทําให้เส้นทั&งสี* เส้นนั&นมีความยาวเท่ากัน
5). กําหนดขนาดของรู ปสี* เหลี*ยมด้วยคําสัง* Smart Dimension
โดยเลือกเส้นทางด้านบน
จากนั&นกล่องข้อ Modify จะปรากฏขึ&น ให้กาํ หนดขนาดเป็ น 50 mm เมื*อกําหนดความสัมพันธ์และขนาด
เสร็ จแล้วจะได้เส้นร่ างที*เป็ นสี ดาํ โดยจะมีจุด Origin อยูท่ ี*จุดกึ*งกลางของรู ป

19

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

6). สร้างชิ&นงาน 3D ด้วยคําสัง* Extruded Boss/Base
กล่อง Direction1 ทางด้านซ้ายมือจะ
ปรากฏขึ&นมา เลือกรู ปแบบการยืดชิ&นงานเป็ นแบบ Blind ซึ*งมีระยะ 10 mm เลือก จะได้ชิ&นงานทรงตัน
ขึ&นมา

7). สร้างระนาบใหม่โดย เลือก Insert – Reference Geometry – Plane กล่องข้อความ Plane จะ
ปรากฏขึ&น ที*มุมซ้ายบนของหน้าจอในส่ วนของพื&นที*ทาํ งาน จะมี
อยู่ ให้คลิกตรงเครื* องหมาย +
และเลือก Front Plane บนกล่อง Plane ในส่ วนของ Selections จะปรากฏ Front Plane และใส่ คา่ ระยะห่าง 50
mm เลือก Plane ใหม่จะถูกสร้างขึ&นโดยจะมีระยะห่างจาก Front Plane 50 mm

8). เลือก Plane1
(ระนาบที*สร้างใหม่) บน Feature Manager Design Tree ปรับมุมมอง
ด้วยคําสัง* Normal To และสร้าง Sketch ใหม่ดว้ ยคําสัง* Circle ให้จุดศูนย์กลางอยูท่ ี*ตาํ แหน่ง Origin
มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 20 mm

20

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

9). เลือกคําสัง* Extruded Boss/Base
เลือกรู ปแบบ Up To Surface โดยเลือกระนาบบนตัว
ชิ&นงานเดิมตามลูกศรชี&
เลือก Merge result เพื*อให้ส่วนที*ยดื ออกนั&นรวมกันเป็ นชิ&นงานเดียวกับชิ&นงานที*สร้างไว้แล้ว
สร้างองศาของการยืด 20 deg และเลือก Draft outward เพื*อให้ชิ&นงานที*ถูกยืดมีลกั ษณะกว้างออก เลือก
จะได้ชิ&นงานดังรู ป

10) สร้างระนาบใหม่โดยใช้ Right Plane โดยเป็ นระนาบอ้างอิง มีระยะห่าง 50 mm

11). เลือก Plane2

(ที*สร้างขึ&นใหม่) และสร้าง Sketch ดังรู ป

21

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

12). Extrude
จะได้ชิ&นงานดังรู ป

โดยใช้รูปแบบ Up To Body เพื*อยืดชิ&นงานให้ไปบรรจบกับชิ&นงานที*มีอยูแ่ ล้ว

13). การสร้างชิ&นงานไม่ให้ติดกันสามารถทําได้โดย เลือก Merge result (ตามรู ปด้านบน) ออก
กลับไปแก้ชิ&นงานตามข้อ 12) ใหม่ โดยคลิกขวาที*
ใน Feature Manager Design Tree
และเลือก Edit Feature บนกล่องข้อความที*ปรากฏขึ&นมา และเลือก Merge result ออก และ

14). ตรวจสอบจํานวนชิ&นงานบน Feature Manager Design Tree จะเห็นว่าใน Solid Bodies มี
ชิ&นงานสองชิ&น

22

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

1.2 Case study 2 (การใช้ Selected Contours, คําสัง* Mirror Entities, Fillet และ Loft)
1). เปิ ดการสร้างชิ&นงานใหม่ เลือกระนาบ Front Plane และ สร้าง Sketch1 ดังรู ป

2). ใน Sketch1 นั&นยังไม่สมบูรณ์ เมื*อได้ Sketch ดังรู ปด้านบนแล้ว จะใช้เครื* องมือ Mirror Entities
สําหรับสะท้อนเส้นที*สมมาตรกัน ในช่อง Entities to mirror ให้เลือกเส้นที*ทาํ งานสะท้อน และในช่อง
Mirror about เลือกเส้นที*ตอ้ งการใช้เป็ นแนวในการสะท้อน

3). จากรู ป Sketch1 นั&นจะเห็นว่าพื&นที*ปิดของ Sketch จะถูกแบ่งเป็ นสองส่ วนด้วยกัน ซึ*งหากเป็ น
เช่นนี&จะไม่สามารถขึ&นรู ป 3D ด้วยวิธีปกติได้ ดังนั&นจึงต้องใช้ Selected Contour เพื*อใช้เลือกพื&นที*ในการขึ&น
รู ป

23

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

พื !นที1
เส้ นร่วม

พื !นที2

4). สร้างเส้น Centerline เพิม* เติมจากเส้นร่ างเดิมดังรู ปเพื*อใช้เป็ นแกนหมุนของคําสัง* Revolve

5). เลือกคําสัง* Revolved Boss/Bass
ในช่อง
ให้เลือกเส้น
Centerline ที*สร้างขึ&นมาใหม่เพื*อเป็ นแกนในการหมุน เลือกพื&นที* 1 และพื&นที* 2 ลงในช่อง Selected
Contours และเลือก

24

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

6). ใช้คาํ สัง* Fillet เพื*อลบมุมของชิ&นงาน เลือกเป็ นรู ปแบบ Constant radius ขนานรัศมี 2 mm
ในส่ วนของ
ให้เลือกเส้นที*ตอ้ งการ Fillet สามเส้นดังรู ป และ
ทําเช่นเดียวกันนี&กบั อีกด้านหนึ*งหรื อว่าจะเลือกเส้นทั&งสองฝั*งพร้อมกันด้วยคําสัง* เดียวกันก็ได้

7). สะท้อน Fillet ที*ได้ทาํ เอาไว้ไปยังอีกด้านหนึ*งด้วยคําสัง* Mirror ช่อง Mirror Face/Plane ให้
เลือก Right Plane (บน Feature Manager Design Tree) และในช่อง Features to Mirror เลือก Fillet1
(บน Feature Manager Design Tree) และ
จะเห็นว่าทั&งสองด้านของชิ&นงานมุมจะถูกลบ
เหมือนกัน

25

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

1.3 Case study 3 (การสร้าง Axis, การใช้คาํ สัง* Extruded Cut, Chamfer, และ Circular Pattern)
1). เริ* มต้นด้วย Case study 3 เลือกระนาบ Right Plane และสร้างเส้นร่ างดังรู ป

2). เลือกคําสัง* Extruded Cut

เลือกรู ปแบบ Mid Plane ให้มีระยะการตัด 10 mm เลือก

3). เลือก Insert – Reference Geometry – Axis
ในส่ วนของ Selections ให้เลือก พื&นที*
ทรงกระบอกด้านในดังรู ปแล้ว แกน Axis1 จะถูกสร้างขึ&นมา

26

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

4). เลือกคําสัง* Circular Pattern ในช่อง Parameters เลือกแกน Axis1 เป็ นแกนหมุน 360 องศา
เลือก Equal spacing ในช่อง Features to Pattern เลือก Extrude2

5). ใช้คาํ สัง* Chamfer
โดยเลือกเส้นดังรู ป เลือก

เพื*อลบมุม ใช้รูปแบบ Angle distance ระยะ 0.5 mm และ มุม 45 องศา

27

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

1.4 Case study 4 (การสร้าง Plane และคําสัง* Swept)
1). เปิ ดชิ&นงานใหม่ เลือก Front Plane และสร้าง Sketch

2). ทําการ Fillet มุมของ Sketch ด้วยคําสัง* Sketch Fillet

จบการ Sketch โดยเลือก

ขนาดรัศมี 10 mm บนมุมทั&งสอง

บนมุมขวาบนของหน้าจอ

3). เลือก Insert – Reference Geometry – Plane เลือกที*จุดปลายและเส้นดังรู ป ระนาบที*ได้น& นั จะตั&ง
ฉากกับเส้นและสัมผัสกับจุดปลาย

28

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

4). เลือกระนาบ Plane1 (ที*สร้างขึ&นใหม่) และสร้างเส้นร่ าง และจบการ Sketch โดยเลือก
มุมขวาบนของหน้าจอ

5). เลือกคําสัง* Swept Boss/Base

บน

และเลือก Sketch ใส่ ในช่องดังรู ป

29

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

1.5 Case study 5 (การสร้างสปริ ง)
1). เปิ ดการสร้างชิ&นงานใหม่ เลือกระนาบ Top Plane จากนั&นสร้าง Sketch รู ปวงกลมขนาดเส้น
ผ่านศูนย์กลาง 10 mm และจบการ Sketch โดยเลือก บนมุมขวาบนของหน้าจอ

2). เมื*อออกจาก Sketch แล้ว เลือกเส้นขอบของรู ปวงกลม จากนั&นเลือก Insert – Curve –
Helix/Spiral
เลือกลักษณะการสร้างแบบ Height and Pitch โดย ความสู งของเกลียวเท่ากับ 15 mm และระยะ Pitch
เท่ากับ 2 mm

3). เลือก Insert – Reference Geometry – Plane
ในช่อง Selections ให้เลือกจุดปลายของเกลียว และเส้นเกลียว ระนาบ Plane1 จะถูกสร้างขึ&นมาโดยจะ
สัมผัสกลับจุดปลายเกลียวและตั&งฉากกับเส้นเกลียว

30

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

4). สร้าง Sketch ใหม่บนระนาบ Plane1 จะเห็นว่าเส้นของ Sketch จะเป็ นสี น& าํ เงินเพราะไม่
สามารถสร้างบนจุด Origin ของระนาบใหม่ได้

ทําการกําหนดความสัมพันธ์ของจุดกึ*งกลางวงกลมกับOrigin ให้อยูใ่ นตําแหน่งเดียวกันโดยกด Ctrl ค้าง
ไว้และเลือกจุดศูนย์กลางของวงกลมและจุด Origin และกําหนดค่าในช่อง Parameters ให้ x = 0 และ y = 0

จากนั&นที*ช่อง Add Relations กําหนดเป็ น Fix เส้นร่ างนี&กจ็ ะถูกกําหนดตําแหน่งที*ตายตัวไม่สามารถ
เลื*อนได้ และทําการออกจาก Sketch

31

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

5). ใช้คาํ สัง* Swept Boss/Base

เพื*อสร้างชิ&นงานสปริ งดังรู ป

32

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

1.6 Case study 6 (การสร้างโครงสร้างด้วยเหล็กรู ปพรรณ, การสร้าง Plane, การใช้คาํ สัง* Convert
Entities และคําสัง* Mirror)
1) เปิ ดงานใหม่ และสร้าง Sketch บนระนาบ Front Plane และจบการสร้าง Sketch

2) เลือกคําสัง* Structure Member จากแถบเครื* องมือ Weldments
- เลือก Standard แบบ ISO
- เลือก Type แบบ square tube
- ขนาด 40x40x4
- ในช่อง Path segments ให้เลือกเส้นทั&งสามเส้นของ Sketch1 และเลือก Apply corner
treatment เป็ นรู ปแบบที* 1

3). สร้าง Sketch ใหม่ บนระนาบ Front Plane และจบการสร้าง Sketch

33

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

4) เลือกคําสัง* Structure Member จากแถบเครื* องมือ Weldments
- เลือก Standard แบบ ISO
- เลือก Type แบบ square tube
- ขนาด 40x40x4
- ในช่อง Path segments ให้เลือกเส้นของ Sketch2 และเลือก Apply corner treatment เป็ น
รู ปแบบที* 1

5). สร้างระนาบใหม่โดยให้ Front Plane เป็ นระนาบอ้างอิงโดยเลือก Insert – Reference Geometry
– Plane มีระยะห่าง 300 mm
- เลือกหน้าช่อง Reverse direction
- กําหนดจําระนาบที*สร้างขึ&นเป็ น 2 ระนาบ

6). เลือกระนาบด้านหลังสุ ดและเลือกคําสัง* Sketch
Feature Manager Design Tree

หลังจากนั&นเลือก

จาก

34

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

7). ใช้คาํ สัง* Convert Entities บนแถบเครื* องมือ Sketch เพื*อสร้างSketch ใหม่โดยอ้างอิงจาก Sketch
เดิม

8). เมื*อได้ Sketch ใหม่แล้วให้ทาํ ตามข้อ 2). อีกครั&งหนึ*ง

9). เลือกคําสัง* Mirror
ใช้ระนาบที*อยูต่ รงกลางเป็ นระนาบสําหรับสะท้อนชิ&นงาน เลือก
รู ปแบบ Bodies to Mirror และใส่ ชิ&นงานตามรู ป

10). เลือก Top Plane และสร้าง Sketch ใหม่ ในรู ปแบบจุด Point

35

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

11). สร้างระนาบใหม่ โดยอ้างอิงที*ระนาบ Right Plane และจุดที*สร้างขึ&นใหม่

12). สร้าง Sketch ที*ระนาบที*สร้างใหม่

13). เลือกคําสัง* Structure Member จากแถบเครื* องมือ Weldments
- เลือก Standard แบบ ISO
- เลือก Type แบบ square tube
- ขนาด 40x40x4
- ในช่อง Path segments ให้เลือกเส้นที*ได้สร้างขึ&นใหม่ และเลือก Apply corner treatment เป็ น
รู ปแบบที* 1
14). สะท้อนชิ&นงานที*สร้างขึ&นใหม่โดยใช้ระนาบ Right Plane เป็ นระนาบสะท้อน

36

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

2. Assembly
2.1 Case study 1
1). เปิ ดการสร้างชิ&นงานใหม่โดยเลือกรู ปแบบ Assembly
2). เลือกแถบเครื* องมือ Assembly โดยเลือก Tools – Customize… และติ…กหน้าแถบเครื* องมือ
Assembly

3). กลับเข้าสู่ หน้าจอ Assembly และสร้าง Axis โดยมีความสัมพันธ์กนั ระหว่างจุดกําเนิด (Origin)
กับระนาบ Front Plane

4). เลือกคําสัง* Insert Components

หน้าต่างสําหรับเปิ ดชิ&นงานจะขึ&นมา

37

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

5). กด Browse… และเข้าไปยังโฟล์เดอร์ Assy2 เลือกชิ&นงาน Main Arm และ OK
6). วางชิ&นงานลงบนพื&นที*ทาํ งานโดยคลิ…กเมาส์ซา้ ย

7). ที* Feature Manager Design Tree ให้คลิกส์ขวาที* Main Arm และเลือก Float เพื*อให้สามารถ
เคลื*อนย้ายชิ&นงานได้
8). คลิ…กที*เครื* องหมาย + หน้า main arm จากนั&นกด Ctrl ค้างไว้และเลือก Front Plan ของ Assembly
และ Front Plan ของ main arm

9). เลือกคําสัง* Mate
จะเห็นว่าบนหน้าจอทํางานนั&น Front Plane ของ Assembly และ main
arm จะเลื*อนมาติดกันโดยอัตโนมัติ

38

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

10). เลือกคําสัง* Mate
จากนั&นให้เลือกที*พ&นื ที*ทรงกระบอกของรู ดา้ นล่างของ main arm และ
เลือก Axis1 ที*ได้ทาํ การสร้างเอาไว้โดยเลือกความสัมพันธ์เป็ นแบบ Concentric ซึ*งจะเป็ นการสร้าง
ความสัมพันธ์แบบร่ วมศูนย์กนั

11). เลือกดูมุมมอง Front และใช้คาํ สัง* Move
ได้โดยหมุดรอบแกน Axis1

เลื*อนชิ&นงาน จะเห็นว่าชิ&นงานจะสามารถเลื*อน

12). เลือกชิ&นงาน Lower Arm ออกมา

13). Mate ระนาบ Front Plane ของlower arm ให้ติดกับระนาบ Front ของ Assembly

39

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

14). เลือกที*พ&นื ที*ทรงกระบอกของรู ท&งั สองรู ดงั รู ปและเลือกคําสัง* Mate
ความสัมพันธ์เป็ นแบบ Concentric จากนั&นเปลี*ยน Alignment ใหม่เพื*อกลับทิศทางการ mate

โดยกําหนด

]

15). ใช้เมาส์จบั ชิ&นงานเลื*อนเพื*อให้อยูใ่ นลักษณะที*ตอ้ งการ

40

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

3. Drawing
3.1 Case study 1 (การสร้างหน้ากระดาษ (Format) ใหม่สาํ หรับ Drawing)
1). เปิ ดการสร้างงานใหม่ที*คาํ สัง* New หน้าต่างเลือกรู ปแบบของการทํางาน (Part, Drawing,
Assembly) จะปรากฏขึ&นมา ให้เลือกเป็ น Drawing

2). เมื*อหน้าจอ Sheet Format/Size ปรากฏขึ&น ที* Standard sheet size ให้เลือกรู ปแบบกระดาษแบบ
A4-Landscape และเลือก OK จะเข้าสู่ หน้าต่างของ Drawing

ที* Model View ให้เลือก เพื*อปิ ดการนําเข้าของไฟล์โมเดล
3). บน Feature Manager Design Tree ให้คลิกเมาส์ขวาที*
และเลือก Edit Sheet
Format บนหน้ากระดาษสามารถเปลี*ยนแบบรู ปแบบของกระดาษเพื*อให้เป็ นไปตามที*ตอ้ งการใช้งาน

41

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

4). ใช้เมาส์คลุมรอบเส้นต่างๆบนหน้ากระดาษทั&งหมด และกด Delete บน คียบ์ อร์ด หน้ากระดาษ
ก็จะเหลือเพียงกระดาษเปล่า
5). จากนั&นใช้คาํ สัง* Sketch ลากเส้นสี* เหลี*ยมขนาด 297x210 mm เพื*อเป็ นขอบของกระดาษดังรู ป
ด้านล่าง

6). เลือกมุมด้านซ้ายล่างของ Sketch รู ปสี* เหลี*ยม และใส่คา่ ที*ช่อง Parameters โดย x=0 และ y=0
จากนั&นเลือกคําสัง* Fix ในช่อง Add Relations เส้นขอบจะเปลี*ยนจากสี น& าํ เงินมาเป็ นสี ดาํ

42

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

7). หลังจากได้ขอบกระดาษแล้ว ให้สร้างพื&นที*การทํางานด้วยเส้นต่างๆ ดังรู ป

8). จากรู ปด้านบนจะเห็นว่าเส้นบอกขนาดจะแสดงอยูซ่ * ึ งจําเป็ นจะต้องซ่อนเพื*อไม่ให้ปรากฏบน
หน้ากระดาษการทํางาน ซึ*งสามารถกระทําได้โดยสร้าง Layer ให้กบั Dimension และ Line ใหม่ โดย เลือก
Layer Properties บนแถบเครื* องมือ Layer จะปรากฏหน้าต่าง Layer ดังรู ป

9). สร้าง Layer ใหม่โดยเลือก New เปลี*ยนชื*อเป็ น Mtec และ เลือกสถานะแบบ off (รู ปดวงไฟจะ
ไม่มีสีเหลืองเพื*อทําการปิ ดเส้นบอกขนาด) จากนั&นเลือก OK

43

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

10). เลือกคําสัง* Filter Dimensions/Hole Callout บนแถบเครื* องมือSelection Filter และเลือกที*เส้น
บอกขนาด และเปลี*ยนรู ปแบบของเส้นใหม่โดยใช้เส้นที*เราสร้างขึ&นซึ*งสามารถกําหนดบนแถบเครื* องมือ
Layer ซึ*งผลลัพธ์ที*ได้น& นั คือเส้นบอกขนาดจะถูกซ่อนเอาไว้

11). สร้างข้อความลงในช่องรายละเอียดต่างๆด้วยคําสัง* Font
ตัวอักษรมีขนาด 3.5 mm ดังรู ป

บนแถบเครื* องมือ Annotation ให้

12). ทําการสร้างการเชื*อมโยงคุณสมบัติของชิ&นงานมายัง Drawing โดยการเลือก Note
แถบเครื* องมือ Annotation หลังจากนั&นเลือกที* Link to Property
ขึ&นมา

บน

หน้าต่าง Link to Property จะปรากD

44

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

13). เลือกที* Current document และใช้รูปแบบเป็ น SW-Sheet Scale(Sheet Scale) และ OK
14). วางข้อความลงในช่อง SCALE บนหน้ากระดาษ

15). ทําแบบเดียวกับข้อ 14) แต่เปลี*ยนรู ปแบบของLink
- SW-Sheet Format Size ลงในช่อง SIZE
- SW-Current Sheet ลงในช่อง SHEET
- SW-File Name ลงในช่อง TITLE
16). คลิ…กเมาส์ขวาบน Sheet Format 1 และเลือก Edit Sheet ซึ*งจะเป็ นการจบการแก้ไข
หน้ากระดาษ

17). แก้ไข Option การทํางานโดยเลือก Tools – Options แก้ไขในส่ วนของ Document Property
- แก้ไข Annotation Font ให้มีขนาด 3.5 mm
- แก้ไข Arrow ให้เหมือนดังรู ปด้านล่าง

18). เมื*อแก้ไขทุกอย่างเรี ยบร้อยแล้วให้ Save โดยเลือก File – Save Sheet Format
3.2 Case study 2 (การสร้าง Drawing เบื&องต้น)
1). เปิ ดการสร้างงานใหม่ข& ึนมาโดยกําหนดรู ปแบบให้เป็ น Drawing
2). ที*หน้าต่าง Sheet Format/Size ให้เลือกที* Standard sheet size

45

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

3). เลือกรู ปแบบของกระดาษตามที*เราได้สร้างเอาไว้แล้ว (Mtec) และ OK

4). ที*ดา้ นซ้ายมือจะปรากฏหน้าต่างModel View ให้กดเลือก Browse… และเลือกไฟล์ link arm
จาก โฟล์เดอร์ Assy2 ออกมา
5). เมื*อเลือกชิ&นงานเสร็ จแล้วอย่าพึ*งวางชิ&นงานลงบนหน้ากระดาษ ให้ปรับตั&งค่าต่างๆบนหน้าต่าง
Model View ก่อนดังนี&
- Display Style เลือกแบบ Hidden Line Visible

- Scale เลือกเป็ นแบบ Use custom scale และใช้อตั ราส่ วน 1:1

6). เมื*อปรับตั&งค่าเสร็ จแล้วให้เลื*อนเมาส์มายังพื&นที*ที*เป็ นหน้ากระดาษ ซึ*งจะเห็นที*เคอร์ เซอร์ เป็ น
รู ปกล่องสี* เหลี*ยม และคลิ…กเมาส์ซา้ ยเพื*อวางชิ&นงานบนหน้ากระดาษ รู ป Front View ของชิ&นงานจะปรากฏ
ขึ&น

46

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

7). เลือกคําสัง* Projected View
Top View

จากแถบเครื* องมือ Drawing และฉายรู ปลงด้านล่างซึ*งจะได้รูป

8). เลือกคําสัง* Projected View จากแถบเครื* องมือ Drawing และฉายรู ปไปทางด้านขวามือทําให้ได้
รู ปครบทั&งสามมุมมองคือ Front, Top และ Side View

9). เมื*อได้รูป Drawing ทั&งสามมุมมองแล้ว ขั&นตอนต่อไปจะเป็ นการกําหนดขนาดต่างๆของ
ชิ&นงาน ซึ*งในที*น& ีจะใช้คาํ สัง* Smart Dimension บนแถบเครื* องมือ Dimension หรื อ Sketch

47

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

48

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

บทที( 3. ฝึ กทักษะเพิม( เติม
1 Part
PART 1: Cam shaft
1. เลือก Right Plane

2.ใช้ คําสัง Extrude

และสร้ าง Sketch1 ดังรูป

เพือยืดชิ !นงานออก

กดเพือกลับทิศทางการ Extrude
เลือกชนิดการ Extrude เป็ นแบบ

Blind

กําหนดระยะการ Extrude เป็ น 75 mm
เลือกหน้ าข้ อความ Direction 2 เพือกําหนดทิศทางที2

เลือกชนิดการ Extrude เป็ นแบบ

Blind

กําหนดระยะการ Extrude เป็ น 125 mm

49

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

3. สร้ าง Plane1 โดยเลือก Insert – Reference Geometry – Plan

เลือกระนาบ Right Plane เป็ น
ระนาบอ้ างอิง

กําหนดระยะห่างจาก Right Plane 15 mm
4. สร้ าง Plane2 เป็ นลักษณะเดียวกันกับ Plane1 แต่จะกลับทิศทางกัน

เลือกเพือกลับทิศทางในการสร้ าง Plane2
50

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

5. เลือก Plane1 และสร้ าง Sketch ดังรูป

6. ใช้ คาํ สัง Extrude

เพือยืดชิ !นงาน

เลือกรูปแบบ Extrude เป็ นแบบ Mid
Plane ซึง มีระยะยืด 15 mm

เอาเครื องหมาย หน้ า Merge result
ออก เพือให้ สว่ นที Extrude นี !ไม่ติด
เป็ นส่วนเดียวกันกับชิ !นส่วนเดิม
เนืองจาก Sketch นี !เป็ นลักษณะทีมี
เส้ นปิ ดหลายเส้ น ดังนันจึ
! งต้ องทําการ
เลือกพื !นทีในการ Extrude ในช่อง
Selected Contours

51

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

7. สร้ าง Plane3 ทีขนานกั Top Plane มีระยะห่าง 10 mm

8. เลือก Plane3 และสร้ าง Sketch3

9. ใช้ คาํ สัง Extrude Cut

เพือทําการตัดชิ !นงาน
เลือกรูปแบบการตัดเป็ น
แบบ Blind มีความลึก 4

เลือกพื !นที
ในการตัด

52

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
10. ใช้ คําสัง Linear Pattern

เพือ คัดลอกชิ !นงานทีมีอยู่
เลือกเส้ นในการกําหนดทิศทางในการคัดลอก
ระยะในการคัดลอกห่าง 30 mm

เลือกชิ !นงานทีต้องการคัดลอก ในช่อง
Bodies to Pattern
11. สร้ างแกนอ้ างอิงใหม่ โดยเลือก Insert - Reference Geometry – Axis

เลือกพื !นผิวของทรงกระบอก
จะได้ แกนซึง เป็ นแกนของ
ทรงกระบอก

53

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

12. ใช้ คําสัง Move/Copy Bodies
เลือก Bodies ทีต้องการ
เคลือ นย้ าย
เลือกแกนทีเป็ นจุดหมุน
องศาในการ
หมุน 270

13. จะได้ รูป Cam Shaft ทีต้องการ

54

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

PART 2: Connecting Rod
1. เลือก Right Plane สร้ าง Sketch1 ดังรู ป

2. ใช้ คาํ สัง Extrude

เป็ นแบบ Mid Plane ขนาด 20 mm ใช้ พื !นทีการยืดดังรูป

55

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

3. ใช้ Sketch เดิม ในการยืดชิ !นงาน ด้ วยคําสัง Extrude

4. ใช้ Sketch เดิมในการยืดชิ !นงาน

56

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
5. สร้ าง Plane ใหม่ขึ !นมา

6. เลือกที Plane ทีสร้ างขึ !นใหม่ และ Sketch ดังรู ป

7. ยืดชิ !นงานด้ วยคําสัง Extrude เลือกลักษณะเป็ น Up to Bodies

57

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
8. สร้ าง Sketch บนระนาบดังรูป

9. ใช้ คาํ สัง Extrude Cut

เพือเจาะทะลุชิ !นงาน เลือกรูปแบบเป็ นแบบ Through All

10. ทําการสะท้ อนชิ !นงาน ด้ วยคําสัง Mirror

ใช้ Front Plane
เป็ นระนาบอ้ างอิง
ส่วนทีต้องการ
ทํา Mirror

58

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
11. สร้ าง Sketch บนระนาบดังรู ป

12. ใช้ Extrude Cut เจาะชิ !นงานลงไป 5 mm

13. ทําการ Mirror ส่วนทีเจาะลงไป โดยใช้ ระนาบ Right Plane

59

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
14. ลบมุมด้ วยคําสัง Filled

ให้ ดสู วยงาม จะได้ Connecting Rod ดังรูป

60

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
PART 3: Connecting Rod2
1. เลือก Right Plane และสร้ าง Sketch1 ดังรู ป

2. Extrude เป็ นแบบ Mid Plane ขนาด 30 mm

3. ใช้ คาํ สัง Filled

เพือลบมุมรัศมี 5 mm

61

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
4. สร้ าง Plane1 โดยใช้ ระนาบอ้ างอิงดังรู ป ระยะห่าง 12 mm

5. เลือกที Plane1 และสร้ าง Sketch2

6. Extrude แบบ Up to Body

7. สร้ าง Sketch3 บนระนาบดังรู ป

62

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

8. ใช้ Extrude Cut แบบ Through All ทําการเจาะชิ !นงาน

9. ทําการสะท้ อนชิ !นงาน ด้ วยคําสัง Mirror

ใช้ ระนาบ Front Plane เป็ นระนาบสะท้ อน

10. ทําการลบมุมด้ วยคําสัง Filled มีรัศมี1 mm

11. จะได้ ชิ !นงานดังรู ป

63

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
PART 4: Crank Shaft
1. เลือกระนาบ Right Plane และสร้ าง Sketch1

2. Extrude แบบ Mid Plane ขนาด 30 mm

3. สร้ าง Sketch2 บนระนาบดังรู ป

4. Extrude แบบ Blind ขนาด 2 mm

64

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
5. สร้ าง Sketch3

ระนาบทีทําการ
สร้ าง Sketch3

6. Extrude ชิ !นงานออกมา

เอาเครื องหมายหน้ า Merge result
ออก เพือ แยกชิ !นงานออกจากกัน

7. เลือกระนาบ Front Plane และสร้ าง Sketch 4

65

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

8. Extrude Cut แบบ Mid Plane ขนาด 120 mm

9. Filled รัศมีขนาด100 mm

66

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
10. Filled รัศมีขนาด 12 mm

11. ลบขอบด้ วยคําสัง Chamfer

12.สร้ าง Plane1 โดยอ้ างอิงจาก Right Plane ขนาด 60 mm

67

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
13. เลือกที Plane1 และสร้ างSketch5

14. Extrude แบบ Up to Body

15. สร้ าง Sketch6 บนระนาบดังรูป

16. Extrude ขนาด 15 mm

68

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
17. สร้ าง Sketch7 บนระนาบดังรู ป

18. Extrude ขนาด 50 mm

19. สร้ าง Plane2 ซึง ใช้ ระนาบ Top Plane เป็ นระนาบอ้ างอิง มี ระยะห่าง 27.5 mm

20. เลือก Plane2 และ สร้ าง Sketch8

69

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
21. Extrude Cut ขนาด 4 mm

22. ทําการสะท้ อนชิ !นงาน ด้ วย Right Plane

23. ใช้ คําสัง Combine

ในการรวมชิ !นงานเข้ าด้ วยกัน

เลือกหน้ า Add

เลือกทีชิ !นงานทังหมด
!

70

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
24. จะได้ ชิ !นงานดังรู ป

71

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
PART 5: Gear1
1. เลือก Right Plane และสร้ าง Sketch1

2. Extrude แบบ Mid Plane ขนาด 15 mm

3.เลือก Plane ดังรู ป และสร้ าง Sketch2

72

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
4. Extrude แบบ Up to Surface

5. สร้ างแกนใหม่ ด้ วยคําสัง Axis

6. ใช้ คาํ สัง Circular Pattern

เลือกแกน Axis1 เพือ
เป็ นแกนศูนย์กลาง

จํานวนวัตถุที
ต้ องการ 16
เลือก Extrude2

73

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
7.เลือก Right Plane และสร้ าง Sketch3

8. Extrude แบบ Mid Plane ขนาด 36 mm

9. เลือกระนาบดังรู ปและสร้ าง Sketch4

10. Extrude Cut แบบThrough จะทําให้ ได้ Gear1 ดังรู ป

74

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

PART 6:Gear2
1. เลือก Right Plane และสร้ าง Sketch1

2. Extrude แบบ Mid Plane ขนาด 15 mm

3.เลือก Plane ดังรู ป และสร้ าง Sketch2

75

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
4. Extrude แบบ Up to Surface

5. สร้ างแกนใหม่ ด้ วยคําสัง Axis

6. ใช้ คาํ สัง Circular Pattern

เลือกแกน Axis1 เพือ
เป็ นแกนศูนย์กลาง
จํานวนวัตถุที
ต้ องการ 32
เลือก Extrude2
7.เลือก Right Plane และสร้ าง Sketch3

76

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
8. Extrude แบบ Mid Plane ขนาด 36 mm

9. เลือกระนาบดังรู ปและสร้ าง Sketch4

10. Extrude Cut แบบThrough จะทําให้ ได้ Gear2 ดังรู ป

77

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
PART 7: KD
1. เลือก Right Plane และสร้ าง Sketch1

2. Extrude โดยเป็ นแบบ Mid Plane ระยะ 8 mm

3. ใช้ Sketch1 เป็ นตัว Extrude ขนาด 5 mm

78

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
4. ใช้ Sketch1 เป็ นตัว Extrude ขนาด 20 mm

5. Filled เส้ นขอบดังรู ป รัศมี 2 mm

6. สร้ าง Plane1 โดยใช้ ระนาบ Top Plane เป็ นระนาบอ้ างอิง ระยะห่าง5 mm

79

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
7. เลือกระนาบ Plane1 และสร้ าง Sketch2

8. Extrude แบบ Blind ขนาด 10 mm มีองศาความเอียง 10.00 deg

9. Filled มุมดังรู ป ขนาด 0.5 mm

80

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
10. จะได้ KD

81

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
PART 8: Pin
1. เลือก Right Plane และสร้ าง Sketch1

2. Extrude แบบ Mid Plane ขนาด 48 mm จะได้ Pin ดังรู ป

82

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
PART 9: Piston
1. เลือก Right Plane และสร้ าง Sketch1

2.ใช้ คําสัง Revolved Boss/Base

แกนในการหมุน

หมุน 360

83

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

3. สร้ าง Plane1 โดยให้ Right Plane เป็ นระนาบอ้ างอิง ระยะห่าง 10 mm

4. เลือกที Plane1 และสร้ าง Sketch2

5. Extrude แบบ Up to Body

84

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
6. ทําการสะท้ อน Extrude1 ด้ วยระนาบ Right Plane

7. เลือกระนาบ Right Plane และสร้ าง Sketch3

8. ใช้ คาํ สัง Extrude

ทิศทางที1

ทิศทางที2

85

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

9. เลือก Right Plane และสร้ าง Sketch4

10. Extrude Cut แบบ Mid Plane ขนาด 30 mm

11. เลือก Front Plane และสร้ าง Sketch5

12. Extrude แบบ Mid Plane ขนาด 30 mm

86

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
13. เลือก Right Plane และสร้ าง Sketch6

14. Extrude Cut เป็ นแบบ Through ทัง! 2 ทิศทาง

15. สร้ าง Plane2 ห่างจาก Right Plane 30 mm

87

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
16. เลือก Plane2 และสร้ าง Sketch7

17. Extrude Cut แบบ Blind ขนาด 3 mm และมีมงเอียง 20 องศา

18. Mirror ส่วนของ Cut- Extrude4 ด้ วยระนาบ Right Plane

19. เลือกผิวด้ านในดังรู ป และ Filled รัศมี 2 mm

88

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
20. เลือกเส้ นขอบดังรู ปและ Filled รัศมี 2 mm

21. สร้ าง Plane3 ระยะห่างกับ Front Plane 25 mm

22. เลือก Plane3 และสร้ าง Sketch8

เลือกทีหน้ า Reverse
direction

23. Extrude Cut แบบ Through All

89

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
24. สร้ าง Axis1

25. ใช้ คําสัง Circular Pattern ในส่วนของ Cut – Extrude5

26. เลือกขอบด้ านบนและทําการ Chamfer เป็ นแบบ Distance

27. เลือก Right Plane และสร้ าง Sketch9

90

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
28. Extrude Cut แบบ Mid Plane ขนาด 60 mm

29. Filled รัศมี 2 mm

30. Filled รัศมี 2 mm

91

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
31.Chamfer มุม 45 องศา ระยะ 1 mm

32. จะได้ Piston ดังรู ป

92

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
PART 10: Retainer

1. เลือก Right Plane สร้ าง Sketch1

2. ใช้ คาํ สัง Revolve

3. จะได้ Retainer ดังรู ป

93

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
PART 11: Rod
1.เลือก Top Plane และสร้ าง Sketch1

2. Extrude แบบ Blind ขนาด 45 mm

3. สร้ าง Sketch2 บนระนาบ ดังรู ป

94

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

4. Extrude แบบ Blind ขนาด162 mm

5. สร้ าง Sketch3 บนระนาบดังรูป

6.

Extrude แบบ Blind ขนาด 2 mm

95

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

7. Filled รัศมี 5 mm

8. เลือก Right Plane และสร้ าง Sketch4

9. Extrude แบบ Mid Plane ขนาด 5 mm

10. สร้ าง Sketch5 บนระนาบดังรู ป

96

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

11. Filled พื !นผิวดังรูป รัศมี 1 mm

12. Filled ดังรูป ขนาด รัศมี 10 mm

13. จะได้ Rod ดังรู ป

97

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
PART 12: Shaft
1. เลือก Right Plane และสร้ าง Sketch1

2. Extrude แบบ Blind ขนาด 200 mm

!
าน แบบ 45 องศา ขนาด 1 mm
3. Chamfer ปลายทังสองด้

4. สร้ าง Plane1 ห่างจาก Right Plane ขนาด 70 mm

5. เลือก Plane1 และสร้ าง Sketch2

98

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

6. Extrude แบบ Blind ขนาด 10 mm จะได้ Shaft ดังรู ป

99

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
PART 13: Spring Valve
1. เลือก Top Plane และสร้ าง Sketch1

2. เลือกทีS ketch1 และใช้ คาํ สัง Helix/Spiral

รูปแบบเป็ น Pitch and
Revolution

ระยะพิต 5
mm

จํานวนขด
สปริ ง 5 ขด
มุมในการเริมต้ น
45 องศา

100

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

3. สร้ าง Plane1 ขึ !นมา โดยเลือกที ขดสปริ ง และจุดปลาย

4. เลือกที Plane1 และสร้ าง Sketch2 เป็ นวงกลมเส้ นผ่านศูนย์กลาง 2 mm ทีจด
ุ ศูนย์กลางของ Sketch
5. ใช้ คาํ สัง Sweep

101

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
6. สร้ าง Sketch3 บน Top Plane

7. เลือกที Sketch3 และใช้ คาํ สัง Helix/Spiral

8. สร้ าง Sketch4 บนระนาบดังรู ป

102

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

9. ใช้ คาํ สัง Sweep

10. สร้ าง Plane2

11. สร้ าง Sketch6 บน Plane2

103

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
12. สร้ าง Sketch7 บนระนาบดังรู ป

13. เลือกที Sketch6 และใช้ คําสัง Helix/Spiral

14. ใช้ คําสัง Sweep

104

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
15. สร้ าง Sketch8 บนระนาบ Right Plane

16. สร้ าง Axis1

17. จะได้ Spring Valve ดังรู ป

105

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
PART 14: Valve
1. เลือก Right Plane และสร้ าง Sketch1

2. ใช้ คาํ สัง Revolve

106

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
3. Filled รัศมี 6 mm

4. Chamfer

5. Chamfer

6. จะได้ Valve ดังรู ป

107

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
PART 15: Valve Spring Retainer
1. เลือกที Right Plane และสร้ าง Sketch1

2. ใช้ คาํ สัง Revolve

.

3. จะได้ Valve Spring Retainer ดังรู ป

108

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

2 Assembly
- สร้ าง Assembly ย่ อยของ Valve
1.เลือก File – New เพือสร้ างแฟ้ มใหม่ คลิกเลือกที Assembly

2. หน้ าต่างการสร้ างชิ !นงานใหม่จะปรากฏขึ !นมา

3. เลือก Insert Components

จะขึ !นหน้ าจอดังรูป

4. เลือก Browse เพือ Insert ไฟล์เข้ ามาในหน้ าต่าง Assembly

109

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

5. ในทีนี !ให้ เลือก Valve เข้ ามา 1 ชิ !น Valve Spring Retainer 2 ชิ !น Retainer 1 ชิ !น และ Valve Spring 1 ชิ !น

6. ใช้ คาํ สัง Mate

เพือประกอบ Valve Spring Retainer ทังสองชิ
!
!นเข้ ากับตัว Valve

ความสัมพันธ์ เป็ นแบบ
Coincident

7. Mate Valve Spring Retainer อีกชิ !น เหมือนชิ !นแรก

110

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

8. Mate Valve Spring Retainer ทังสองให้
!
ประกบกัน

9. Mate Retainer เข้ ากับ Valve

10. Mate Spring Valve โดยเลือกที แกน Axis1 ของ Spring Valve และผิวของ Valve ดังรูป

111

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

ความสัมพันธ์เป็ นแบบ
Concentric

11. Mate Retainer และ Spring Valve เข้ าด้ วยกัน

12. จะได้ Assembly ดังรูป

13. Save โดยตังชื
! อว่า Valve1

- สร้ าง Assembly ของ Engine

112

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

1. เปิ ดหน้ าต่าง Assembly ใหม่ขึ !นมา
2. สร้ าง Axis1 ขึ !นโดยใช้ ความสัมพันธ์ระหว่าง ระนาบ Right Plane กับ จุด Origin

3. Insert Crank Shaft เข้ ามา และ ทําการ Float เพือไม่ให้ Crank Shaft ไม่ Fix อยูก่ บั ที

4. ทําการ Mate Crank Shaft เข้ ากับ Axis1

ความสัมพันธ์เป็ นแบบ
Concentric

5. Mate Right Plan ของ Assembly กับ Right Plane ของ Crank Shaft เข้ าด้ วยกัน

113

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

6. Insert Connecting Rod1 เข้ ามา และ Mate ดังรูป

7. Insert Connecting Rod2 เข้ ามา และ Mate

114

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

8. จะได้ ดงั รูป

115

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

9. Insert Piston เข้ ามาและ Mate ดังรูป

ความสัมพันธ์เป็ นแบบ
Concentric

10. เลือกที Right Plane ของ Connecting Rod1 และ Right Plane ของ Piston และทําการMade ความสัมพันธ์เป็ นแบบ
Coincident จะได้ ลกั ษณะดังรูป

116

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

11. เลือกที Front Plan ของ Assembly และ Front Plane ของ Piston และทําการ Made ความสัมพันธ์เป็ นแบบ
Coincident จะทําให้ ลปู สูบ เลือ นขึ !นลงบนระนาบ Front Plane.

12. เลือกระนาบดังรูปและสร้ าง Sketch1

117

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

13. สร้ าง Axis2

14. Insert Cam Shaft ขึ !นมาและ Mate เข้ ากับ Axis2 ใช้ ความสัมพันธ์แบบ Concentric
และ Mateให้ ระนาบดังรูปทัง2
! อยูใ่ นระนาบเดียวกัน

118

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

15. สร้ าง Plane1 ขึ !นมาใหม่

16. สร้ าง Sketch2 บน Plane1

17. Insert Rod มา 2 ชิ !น และ Mate Rod เข้ ากับ เส้ น บน Sketch2 โดยมีความสัมพันธ์เป็ นแบบConcentric

119

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

18. ทําการ Mate Cam ทีหน้ าจอ Advance Mate
เลือก Cam

เลือกผิวสัมผัส
ทังหมดของลู
!

เบี !ยว

เลือกผิวของ
Rod ทีสม
ั ผัส

ลูกเบี !ยว

120

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

19. Mate Cam เข้ ากับ Rod ทังสองอั
!


20. เลือก Right Plane และสร้ าง Sketch3

121

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

21. สร้ าง Axis 3 ด้ วยความสัมพันธ์ของ Right Plane กับ จุดบน Sketch3

22. Insert Shaft ขึ !นมา และ Mate เข้ ากับ Axis3 มีความสัมพันธ์แบบ Concentric

122

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

23. Mate ผิวของ Shaft กับ Cam Shaft เพือให้ อยูใ่ นระนาบเดียวกัน ดังรูป

24. Insert file ชือ kd ขึ !นมา และ Mate ให้ ร่วมศูนย์กบั Shaft

123

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

25. Mate kd ทังสองชิ
!
!นให้ แนบกับ Shaft ดังรูป

26. เลือก Front Plane และสร้ าง Sketch4

124

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

27. Insert file Valve ทีเป็ น Assembly ขึ !นมา 2 ชิ !น และmate ให้ ร่วมศูนย์กบั เส้ นบน Sketch4 ดังรูป

28. mate ให้ kd สัมผัสกับ Valve ด้ วยความสัมพันธ์ แบบ Tangent ทังสองชิ
!
!น

125

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

29. Mate Right Plane ของ Rod ทังสองให้
!
ขนานกับ Right Plane ของ Assembly ด้ วยความสัมพันธ์แบบ Parallel

30. Mate kd และ Rod ให้ มีผิวหน้ าดังรูปสัมผัสกัน

31. Insert ไฟล์ Gear1 เข้ ามา และ Mate เข้ ากับ Crank Shaft โดยให้ ร่องลิม ของ Gear1 และ Crank Shaft ตรงกัน ดังรูป

126

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

32. Insert ไฟล์ Gear เข้ ามา และ Mate เข้ ากับ Cam Shaft โดยให้ ร่องลิม ของ Gear1 และ Cam Shaft ตรงกัน ดังรูป

33. จัดตําแหน่งให้ Gear1 และ Gear2 มีการขบพอดี

34. ใช้ Advance Mate และเลือกเป็ นแบบ Gear

127

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

35. ทําการ Mate Gear โดยเลือกทีเส้ นรอบรูปของ Gear1 ก่อนแล้ วจึงเลือกทีเ ส้ นรอบรูป Gear2

35. ในช่อง Ratio ให้ ใส่อตั ราทด ซึง ในทีนี !คือ 1 : 2

3
6. ซึง จะได้ Assembly ทีสมบูรณ์

128

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

บทที( 4. แบบฝึ กหัด
แบบฝึ กหัด Part 1

129

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

แบบฝึ กหัด Part 2

130

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

แบบฝึ กหัด Part 3

131

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

แบบฝึ กหัด Part 4

132

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

แบบฝึ กหัด Part 5

133

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

แบบฝึ กหัด Part 6

134

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

แบบฝึ กหัด Part 7

135

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

แบบฝึ กหัด Part 8

136

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

แบบฝึ กหัด Part 9

137

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

แบบฝึ กหัด Part 10

138

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

แบบฝึ กหัด Assembly 1

139

คู่มือฝึ กอบรมเขียนแบบด้วยโปรแกรม SolidWorks
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

แบบฝึ กหัด Assembly 2

140

Sponsor Documents

Or use your account on DocShare.tips

Hide

Forgot your password?

Or register your new account on DocShare.tips

Hide

Lost your password? Please enter your email address. You will receive a link to create a new password.

Back to log-in

Close